บทที่9 ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่9 ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ by Mind Map: บทที่9 ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ

1. ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล

1.1. ความหมาย

1.2. วิธีการทำงานเดิม

1.2.1. การปฏิบัติงานในคลินิกต้องลงบันทึกรายงานในกระดาษเอกสาร

1.3. วิธีการทำงานใหม่

1.3.1. นำคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการออกแบบระบบไว้ดีแล้ว มาใช้บันทึกข้อมูลทางการพยาบาล

1.4. การบริการ

1.4.1. คือ

1.4.1.1. การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการดำเนินงานให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย

1.5. การบริหารโครงการวิจัย

1.5.1. คือการจัดเตรียมทรัพยากรเพื่อมาดำเนินงานวิจัยให้สำเร็จ

1.6. การปฏิบัติวิจัย

1.6.1. คือการศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทำวิจัย

1.6.1.1. การเก็บข้อมูล

1.6.1.2. การวิเคราะห์ข้อมูล

1.6.1.3. การอภิปรายผล

1.6.1.4. การนำเสนอ

1.6.1.5. การเผยแพร่ผลงาน

2. ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล

2.1. การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการโรงพยาบาล

2.2. กลุ่มงานบริหารด้านการรักษาพยาบาล

2.2.1. 1.ระบบเวชระเบียนและสถิติ

2.2.2. 2.ระบบงานผู้ป่วยนอก

2.2.3. 3.ระบบงานผู้ป่วยใน

2.2.4. 4.ระบบงานเภสัชกรรม

2.2.5. 5.ระบบงานพยาธิวิทยา/ระบบงานชันสูตร

2.2.6. 6.ระบบงานรังสีวิทยา

2.2.7. 7.ระบบงานห้องผ่าตัด

2.2.8. 8.ระบบงานวิสัญญี

2.2.9. 9.ระบบงานห้องคลอด

2.2.10. 10.ระบบงานทันตกรรม

2.2.11. 11.ระบบงานจิตวิทยา

2.2.12. 12.ระบบงานสังคมศาสตร์

2.2.13. 13.ระบบงานเวชกรรมสังคม

2.2.14. 14.ระบบงานเวชกรรมฟื้นฟู

2.2.15. 15.ระบบงานโภชนาการ

2.2.16. 16.ระบบหน่วยจ่ายกลาง

2.2.17. 17.ระบบงานธนาคารโลหิต

2.2.18. 18.ระบบงานการเงินผู้ป่วย

2.2.19. 19.ระบบงานส่งเสริมสุขภาพ

2.2.20. 20.ระบบงานสุขาภิบาลและป้องกันโรค

2.2.21. 21.ระบบงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

3. 9.ระบบการศึกษา(แพทยศาสตร์ศึกษา

4. ระบบเครือข่ายสารสนเทศกระทรวงสาธารณสุข

4.1. ความหมาย

4.1.1. ระบบสารสนเทศที่เน้นการจัดเก็บและสื่อสารข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุขระหว่างโรงพยาบาลต่างๆและหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบ

4.2. ประกอบด้วย7ประเภท

4.2.1. การป้องกัน

4.2.2. การคุ้มครองกลุ่มเสียง

4.2.3. การรักษาการพยาบาล

4.2.4. การจำกัดความพิการ

4.2.5. การฟื้นฟูสภาพ

4.3. เป็นการบริการโดยการใช้เคนือข่ายมือถือเชื่อมต่อกับ โมเด็ม จากคอมพิวเตอร์

4.4. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกระทรวงสาธารณสุข

4.4.1. คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เชื่อมโยงเป็น Terminal

4.4.2. จัดเก็บและประมวลผมข้อมูล

4.4.3. พัฒนาจัดเก็บข้อมูล

4.4.4. ยุคของการลดขนาดของระบบหรือที่เรียกว่า down sizing กระทรวงสาธารณสุขได้ใช้ (PC) เชื่อมโยง LANทดแทนแบบเก่า

4.4.5. เชื่อมโยงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ LAN

4.4.6. เปลี่ยนจาก Host based มาเป็นแบบ client/server

4.4.7. 1.ระบบ LAN

4.4.7.1. นิยมใช้ในหน่วยกองที่ส่วงกลางอาจมีการเชื่อมโยงตั้งแต่ 4 workstations ขึ้นไปและใช้สายสัญญาณใยแก้วนำแสงเป็นสื่อสำหรับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลักความเร็วสูง

4.4.8. เมื่อ PC ถูกลงหน่วยงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลเริ่มจัดหาเพิ่มขึ้น

4.4.9. เป็นระบบการเชื่อมต่อระหว่างกรมภายในกระทรวงสาธารณสุข

4.4.10. จัดเก็บและประมวลผลฐานข้อมูล

4.5. จำแนกขอบเขตการเชื่อมโยง

4.5.1. 2. FDDI backbone

4.5.2. 3.เครือข่าย Telemedicine

4.5.2.1. เป็นเครือข่ายดาวเทียมใช้ในการประชุมทางไกล หรือการเรียนการสอนทางไกล

4.5.3. 4.เครือข่ายเชื่อมโยงไปยังส่วนภูมิภาค แบบEnterprise wide area network

4.5.3.1. ใช้ประโยชน์กับเครือข่าย Telemedicine และการเชื่อมต่อผ่าน leased line

4.5.4. 5.การใช้งานผ่านโทรศัพท์ในลักษณะ Dial up

4.5.4.1. การทำงานพยาบาลทั้งด้วนบริการ ด้านบริหาร ด้านการศึกษา ด้านวิจัย อย่างเป็นระบบระเบียบโดยอาศัยสารสนเทศ

5. กลุ่มงานบริการและวิชาการ

5.1. 1.ระบบงานธุรการ

5.1.1. งานสารบรรณ

5.1.2. งานจองห้องประชุมและรถ

5.1.3. งานอาคารและสถานที่

5.2. 2.ระบบงานพัสดุ

5.2.1. ดำเนินการเกี่ยวกับงานจัดซื้อจัดจ้าง

5.3. 3.ระบบงานบัญชีและการเงิน

5.3.1. เป็นโปรแกรมสำหรับงานการเงินและบัญชี

5.4. 4.ระบบการงานเจ้าหน้าที่

5.4.1. เกี่ยวข้องกับการวางแผนกำลังคน บรรจุ แต่งตั้งเก็บทะเบียนประวัติ

5.5. 5.ระบบงานห้องสมุด

5.5.1. ดูแลบริการห้องสมุด

5.6. 6.ระบบงานประชาสัมพันธ์

5.6.1. เผยแพร่ข้อมูลและข่าวสารภายในโรงพยาบาล

5.7. 7.ระบบงานพัฒนาคุณภาพบริการและวิชาการ

5.8. 8.ระบบงานข้อมูลข่าวสารทางการแพทย์

5.9. 10.ระบบงานสำหรับผู้บริหารโรงบาล

6. พัฒนาการของการจำแนกเทคโนโลยีสารสนเทศในระบบสุขภาพ

6.1. การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานการแพทย์มีพัฒนาการต่อมา ด้วยการผสมผสานทางการแพทย์เรียกความรู้ที่ปรับแปลงประยุกต์นี้ว่า Medical informatics