การบำบัดรักษาทางจิตเวชด้วกระแสไฟฟ้า electroconvulsive therapy: ECT

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การบำบัดรักษาทางจิตเวชด้วกระแสไฟฟ้า electroconvulsive therapy: ECT by Mind Map: การบำบัดรักษาทางจิตเวชด้วกระแสไฟฟ้า   electroconvulsive therapy: ECT

1. ข้อบ่งชี้ในการักษาด้วยไฟฟ้า (Electro convulsive therapy หรือ ECT)

1.1. การรักษาด้วยไฟฟ้าเป็นวิธีแรกก่อนใช้ยา (primary use of ECT)

1.1.1. ต้องการผลการรักษาที่รวดเร็วแน่นอน

1.1.2. เมื่อการรักษาวิธีอื่นปลอดภัยน้อยกว่าการรักษาด้วยไฟฟ้า

1.1.3. มีประวัติการตอบสนองต่อยาไม่ดี

1.2. การรักษาด้วยไฟฟ้าหลังจากที่ได้ให้การรักษาชนิดอื่นไปแล้ว

1.2.1. ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา

1.2.2. ผู้ป่วยทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได้

1.2.3. สภาวะที่อาการของผู้ป่วยแย่ลงเรื่อยๆ

2. ข้อห้ามและข้อควรระวัง

2.1. ภาวะการมีพยาธิสภาพในสมอง

2.1.1. เสี่ยงต่อการเกิดสมองบวม (brain edema)

2.1.2. เสี่ยงต่อสมองเลื่อน (brain hernia)

2.2. ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นหรือภาวะที่เสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกในสมอง

2.3. ความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรง (severe hypertension)

2.4. การหลุดลอกของเยื่อภายในลูกตา (retinal detachment)

3. การรักษาด้วยไฟฟ้าได้นำมาใช้ในการรักษาผู้ป่วย

3.1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการรักษาด้วยไฟฟ้า

3.1.1. ซักประวัติเพื่อหาข้อมูล

3.1.2. งดน้ำและอาหารทางปากอย่างน้อย 4 ชั่วโมงก่

3.1.3. ให้ผู้ป่วยอาบน้ำสระผมให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง

3.1.4. นำของมีค่าฟันปลอมแว่นตาและโลหะอื่นๆออกจากตัวผู้ป่วย

3.1.5. นำของมีค่าฟันปลอมแว่นตาและโลหะอื่นๆออกจากตัวผู้ป่วย

3.1.6. ผู้ป่วยหญิงห้ามแต่งหน้าทาปากทาเล็บ

3.1.7. ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เรียบร้อยก่อนทำการรักษา

3.1.8. ตรวจดูใบเซ็นยินยอมของญาติอีกครั้งก่อนเข้าทำการรักษา

3.2. การพยาบาลผู้ป่วยขณะทำการรักษาด้วยไฟฟ้า

3.2.1. ให้ผู้ป่วยนอนหงายบนเตียงไข้หมอนหนุนบริเวณต้นคอเอวและข้อพับขาทั้งสองข้างป้องกันกระตุกสันหลังเคลื่อน

3.2.2. . ให้ออกซิเจนทางจมูกผู้ป่วยก่อน 2-3 นาที

3.2.3. ใส่แผ่นยางกันการกัดลิ้นโดยใช้ผ้าก๊อซพันให้เรียบร้อย

3.2.4. ให้ผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย 2 คนจับบริเวณไหล่และข้อมือของผู้ป่วยข้างละ 1 คนผู้ช่วยอีก 2 คนจับบริเวณสะโพกและหัวเข่าข้างละ 1 คน

3.2.5. บันทึกสัญญาณชีพก่อนการซักทันที 1 ครั้ง

3.2.6. พร้อมแล้วแพทย์ทำการกดกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในสมองของผู้ป่วย

3.3. การพยาบาลผู้ป่วยหลังทำการรักษาด้วยไฟฟ้า

3.3.1. . วัดความดันโลหิตทุก 15 นาทีใน 1 ชั่วโมงแรกหลังจากนั้นวัดความดันโลหิตทุก 1 ชั่วโมงอีก 2 ครั้งและทุก 2 ชั่วโมงอีก 2 ครั้งจนปกติ

3.3.2. เมื่อผู้ป่วยรู้ตัวจะตกใจใช้ผ้าชุบนำเช็ดหน้าผู้ป่วยเพื่อผู้ป่วยรู้สึกสดชื่น

3.3.3. ให้ผู้ป่วยนอนพักประมาณ 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมงหรือจนกว่าผู้ป่วยจะควบคุมตัวเองได้

3.3.4. ไม่ควรซักถามประวัติส่วนตัวของผู้ป่วยเพราะจะทำให้ผู้ป่วยกังวลใจ

3.3.5. . ควรช่วยทบทวนเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวันและกิจกรรมต่างๆของหอผู้ป่วย

4. การรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางจิตโดยใช้กระแสไฟฟ้าจากเครื่องทำการ รักษาด้วยไฟฟ้าในปริมาณที่เหมาะสม

5. เทคนิคการรักษาด้วยไฟฟ้า

5.1. การวางขั้วไฟฟ้าสองข้าง (bilateral ECT)

5.1.1. การวางแผ่นขั้วไฟฟ้าไว้ที่ขมับ (temporal) ทั้งสองข้างข้างละ 1 แผ่น

5.1.1.1. เหมาะสำหรับรักษาผู้ป่วยคลุ้มคลั่งหรือผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตาย

5.2. การวางขั้วไฟฟ้าทั้งสองแผ่นไว้ที่ขมับข้างเดียวกัน (unilateral ECT)

5.2.1. กระแสไฟฟ้าผ่านสมองซีกเดียวกัน

5.2.1.1. ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและผู้สูงอายุ

6. วิธีการทำการรักษาด้วยไฟฟ้า

6.1. Unmodified ECT

6.1.1. การรักษาด้วยไฟฟ้าที่ไม่ใช้ยาระงับความรู้สึกหรือยาสลบและยาคลายกล้ามเนื้อช่วยในขณะทำการรักษาผู้ป่วยยังคงรู้สึกตัวก่อนที่จะผ่านกระแสไฟฟ้า

6.2. Modified ECT

6.2.1. การรักษาด้วยไฟฟ้าใช้ยาระงับความรู้สึกหรือยาสลบและยาคลายกล้ามเนื้อช่วยในการรักษาควรทำในห้องผ่าตัดหรือห้องที่มีเครื่องช่วยหายใจ