สงครามชีวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สงครามชีวะ by Mind Map: สงครามชีวะ

1. สารชีวะทำอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์

1.1. คุณสมบัติ

1.1.1. ระบาดได้

1.1.2. ป้องกันยาก

1.1.3. ตรวจพบยาก

1.1.4. ติดเชื้อได้หลายทาง

1.1.5. ระยะฟักโรคแน่นอน

1.1.6. Zoonosis

1.1.6.1. ติดต่อระหว่างมนุษย์ หรือสัตว์และมนุษย์

1.2. พาหะนำโรค

1.2.1. Biological vectors

1.2.1.1. เชื้อโรคเจริญในร่างกายพาหะ

1.2.2. Mechanical vectors

1.2.2.1. เชื้อโรคติดไปกับร่างกายพาหะ

1.3. โรคของมนุษย์

1.3.1. สารสังหาร

1.3.1.1. แบคทีเรีย

1.3.1.1.1. Cholera

1.3.1.1.2. Typhoid fever

1.3.1.1.3. Anthrax

1.3.1.1.4. Plague (Black death)

1.3.1.1.5. Glanders

1.3.1.1.6. Tularemia

1.3.1.2. ฟังไจ

1.3.1.2.1. Coccidiomycosis

1.3.1.3. ริกเกทเซีย

1.3.1.3.1. Epidemic Typhus

1.3.1.3.2. Spotted fever

1.3.1.4. ไวรัส

1.3.1.4.1. Smallpox

1.3.1.4.2. Rabies

1.3.1.4.3. Yellow fever

1.3.1.4.4. Encephalitis

1.3.1.4.5. Ebola hemorrhagic fever

1.3.2. สารทำให้ไร้สมรรถภาพ

1.3.2.1. แบคทีเรีย

1.3.2.1.1. Brucellosis

1.3.2.1.2. Tularemia

1.3.2.2. ริกเกทเซีย

1.3.2.2.1. Murine Typhus

1.3.2.2.2. Q-fever

1.3.2.3. ไวรัส

1.3.2.3.1. Influenza

1.3.2.3.2. Encephalitis

1.4. โรคของสัตว์

1.4.1. แบคทีเรีย

1.4.1.1. Glanders

1.4.2. ไวรัส

1.4.2.1. Swine fever

1.4.2.2. African swine fever

1.4.2.3. Foot and Mouth disease

1.4.2.4. Newcastle disease

1.4.2.5. Rinderpest disease (Cattle plague)

2. การใช้อาวุธชีวะ

2.1. สารชีวะที่ดี

2.1.1. เกิดผลตามต้องการทุกครั้ง

2.1.2. Infective dose ต่ำ

2.1.3. ติดต่อง่าย

2.1.4. ระยะฟักโรคแน่นอน

2.1.5. ป้องกันยาก

2.1.6. ตรวจพบยาก

2.1.7. ผลิตได้มากโดยประหยัด

2.1.8. ทนทาน

2.1.9. มีวิธีป้องกันการเสื่อมฤทธิ์

2.1.10. สามารถปล่อยกระจายได้มีประสิทธิภาพ

2.2. วิธีปล่อยกระจาย

2.2.1. Aerosol

2.2.1.1. ของแข็ง หรือของเหลวแขวนลอย

2.2.1.2. 1-5 micron

2.2.1.3. ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง

2.2.1.4. ใช้เป็นวิธีหลัก

2.2.2. Vector

2.2.2.1. สัตว์พาหะดูดเลือด

2.2.2.2. ควบคุมสัตว์พาหะยาก

2.2.2.3. ใช้เป็นวิธีรอง

2.2.3. Covert/Sabotage

2.2.3.1. ปล่อยลับๆ ในอากาศ น้ำ อาหาร หรือสิ่งอื่น

2.2.3.2. ต่อต้านและป้องกันได้ยาก

2.2.3.3. ใช้เป็นวิธีเสริม

2.3. อาวุธชีวะ

2.3.1. ยุทธปัจจัย

2.3.1.1. ระเบิด

2.3.1.1.1. สารชีวะถูกทำลายจากความร้อนและแรงระเบิด

2.3.1.2. ใช้ความดัน

2.3.1.2.1. หลงเหลือหลักฐาน

2.3.1.3. พ่นละออง

2.3.1.3.1. คลอบคลุมพื้นที่ได้กว้างขวาง

2.3.2. ข้อพิจารณาใช้สารชีวะ

2.3.2.1. เชื้อโรครุนแรง ทนต่อยารักษาโรค

2.3.2.2. ปล่อยสารชีวะตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปพร้อมกัน

2.3.2.3. ใช้ความเข้มข้นสูงกว่าในธรรมชาติ

2.3.2.4. ทำให้เข้าสู่ร่างกายผ่านช่องทางที่ไม่ใช่ช่องทางตามธรรมชาติ

2.3.2.5. ใช้สัตว์พาหะที่ในธรรมชาติไม่แพร่โรค

2.3.3. โอกาสใช้

2.3.3.1. ยุทธศาสตร์

3. สารชีวะทำอันตรายพืช

3.1. เป้าหมาย

3.1.1. พืชอาหารหลัก

3.1.2. พืชสวน

3.1.3. พืชไร่และพืชเศรษฐกิจ

3.2. ประเภท

3.2.1. แบคทีเรีย

3.2.1.1. Xanthomonas oryzae

3.2.1.1.1. โรคใบแห้งและใบขีดสีส้มของข้าว

3.2.1.2. Pseudomonas alboprecipitans

3.2.1.2.1. โรคใบแห้งของข้าวโพด

3.2.2. ฟังไจ

3.2.2.1. Sclerotium rolfsii

3.2.2.1.1. โรคของถั่วเหลือง หัวผักกาดหวาน ฝ้าย มันเทศ

3.2.2.2. Phytophthera infestans

3.2.2.2.1. โรคใบแห้งของมันฝรั่ง

3.2.2.3. Helminthosporium oryzae

3.2.2.3.1. โรคใบจุดสีน้ำตาลของข้าว

3.2.2.4. Pyricularia oryzae

3.2.2.4.1. โรคใบไหม้ของข้าว

3.2.2.5. Puccinia graminis

3.2.2.5.1. โรคราสนิมของข้าวสาลี ข้าโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์

3.2.3. ไวรัส

3.2.3.1. โรคใบสีส้มของข้าว

3.2.3.2. โรคใบสีเหลือง

3.2.3.3. โรคใบหงิกของข้าว (โรคจู๋)

3.2.3.4. โรคหูดของข้าว

3.2.3.5. โรคเขียวเตี้ย