ยุทธศาสตร์ SMART

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ยุทธศาสตร์ SMART by Mind Map: ยุทธศาสตร์ SMART

1. รายรับจากบริการโครงการพิเศษต่างๆ เพิ่มขึ้น

2. SAR และการนำเสนอในมาครฐาน II-8 โรคและภัยสุขภาพ และ II-9 การทำงานกับชุม และ III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลัง III-6 การดูแลต่อเนื่อง

3. Sum adjust RW เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี

4. รายรับค่ารักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น

5. S6 การพัฒนาคุณภาพ รพ.ตามมาตรฐาน

5.1. ตัวชี้วัด THIP ที่มีผลการเทียบเคียงอยู่ในระบบดีกว่าค่าเฉลี่ย ToP Quatile

5.1.1. ตัวชี้วัดด้านชุมชมมีระดับดีกว่าค่าเฉลี่ย Top Quatile

6. M7 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain management)

6.1. การสำรองคลังยา

6.1.1. T2 สร้างการแลกเปลี่ยน การฝึกปฏิบัติงานและการศึกษาดูงานระดับนานาชาติ

6.1.1.1. ผลงานทางคลินิกได้รับการตีพิมพ์ระดับนานาชาติ

6.1.1.2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถาบันระดับนานาชาติ เป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติงาน และมาศึกษาดูงานที่ศูนย์การแพทย์

6.2. โครงการจัดอบรมวิชาการให้แก่บุคลากรภายในและบุคลากรภายนอก

6.3. สินค้าคงคลังที่หมดอายุการใช้งาน ลดลงเป็น ร้อยละ 0.4 ในปี 2566

7. ประเมินตนเองและพัฒนาคุณภาพ และมีการวิเคราะห์และแผนพัฒนาในระดับ Met ในมาครฐาน II-8 โรคและภัยสุขภาพ และ II-9 การทำงานกับชุม และ III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลัง III-6 การดูแลต่อเนื่อง

8. การสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มบุคลากร และนิสิต มศว

9. ได้รับการ re-acc ตามเกณฑ์ HA

10. ผลงานทางคลินิกที่มีกรนำเสนอผลงานในระดับนานาชาติ

11. M 5 การพัฒนาบุคลากรในทุกวิชาชีพ เพื่อรองรับการขยายงานบริการตติยภูมิระดับสูง

11.1. การเข้าถึงบริการรักษาของกลุ่มบุคลากร มศว

12. มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา

12.1. A1 เป็นฐานจัดอบรมวิชาการให้แก่บุคลากรภายใน และบุคลากรภายนอก (Training Center)

12.2. ได้รับรอง Advance HA ในปี 2566

12.3. R1 สร้างและพัฒนานักวิจัย

12.3.1. การเพิ่มขึ้นของนักวิจัยหน้าใหม่

12.3.2. จำนวนผลงานวิจัยทางคลินิก/R2R ที่สนับสนุน Excellence Center

13. มุมมองด้านการเงิน

13.1. M8 วางแผนด้านการเงิน (การหารายได้ การใช้จ่าย,ควบคุมรายจ่าย, การคิดต้นทุนต่อหน่วย )

13.1.1. มีอัตราครองเตียงห้องพิเศษเพิ่มสูงขึ้น

14. ความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (รักษาครบ รักษาหาย) เป้าหมายร้อยละ 90 ในปี 2566

15. บุคลากรมมีค่า BMI อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

16. บุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพและส่งเสริมสุขภาพ เป้าหมาย 90 %

17. อัตราการเสียชีวิตจากการติดเชื้อปอดอักเสป (P้neumonia) ลดลงร้อยละ 10/ปี

18. ระบบให้คำปรึกษาทางการแพทย์ออนไลน์ (ในเวลา)

19. ความพึงพอใจของนิสิตแพทย์ในการปฏิบัติงานที่ศูนย์การแพทย์ ฯ

20. M9 พัฒนาระบบดูแลผู้ป่วยติดเชื้อสำคัญและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ

20.1. ลดอัตราการติดเชื้อดื้อยา (MDR, CRE,VRE,ESBL) ต่อ 1000 วันนอน น้อยกว่า 1

20.2. อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วย sepsis ลดลงร้อยละ 10 / ปี

21. มุมมองด้านผู้รับบริการ

21.1. S1 ยกระดับเป็น รพ.ระดับตติยภูมิชั้นสูง และพัฒนา Excellence Center เฉพาะทาง

21.1.1. เป้าหมายปี 2563 -2565 _3-2-2-3

21.1.1.1. การนำสื่อเทคโนโลยี การสื่อสาร และโปรโมทข้อมูลด้านสุขภาพ

21.1.1.2. ปี 2563 1.หัวใจและหลอดเลือด 2.ทารกแรกเกิด 3.ผ่าตัดกระดูกแขนและมือส่วนบน

21.1.1.3. ปี 2564 1.มารดาและเด็กกลุ่มเสี่ยง 2.ประสาทหูเทียม

21.1.1.4. ปี 2565 1.มะเร็งตับ 2.สองกล้องทางเดินอาหาร

21.1.1.5. ปี 2566 1.เปลี่ยนกระจกตา 2.ไต 3.ผ่าตัดเนื้องอกสมอง

21.2. S2 เพิ่มจำนวนเตียงตามกรอบ WFME 700 เตียง

21.2.1. เป้าหมาย/ปี 400/63, 500/64,600/65,700/66

21.3. S3 จัดตั้งศูนย์มะเร็งครบวงจร

21.3.1. เป้าหมายเริ่มก่อสร้างปี 66

21.4. S5 สร้างเครือข่ายด้านการส่งเสริมดูแลสุขภาพ และการรักษาแก่ นักเรียน นิสิต และบุคลากรของ มศว

21.4.1. ระบบการเข้าถึงบริการของกลุ่มนิสิต

21.4.2. ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพและดูแลบุคลากรทางการแพทย์ มศว

21.4.2.1. มีช่องทางด่วนทุก OPD

21.4.2.2. ประกันเวลารับบริการ 2-3 ชั่วโมง/ visit

21.5. M1 เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยนอก

21.5.1. S4 สร้างเครือข่ายด้ารการักษาพยาบาลและส่งเสริมการดูแลสุขภาพในชุมชน

21.5.1.1. พัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุครบวงจร

21.5.1.2. สร้างเครือข่ายการดูแลด้านสุขภาพ

21.5.1.3. จำนวนความร่วมมือการรับส่งต่อผู้ป่วยในเขตพื้นที่ตะวันออก 2 (พี่เลี้ยง)

21.5.1.3.1. ปี 63:จัดตั้งศูนย์รับrefer

21.5.2. จัดระบบ SMART OPD

21.5.2.1. ระบบนัดออนไลน์

21.5.2.2. ระบบจัดส่งยาถึงบ้าน

21.5.2.3. เพิ่มการสื่อสารเชิงรุกเข้าสู่กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ภาคตะวันออก และภาคกลาง

21.5.2.4. ระบบคิวอัจฉริยะ

21.5.3. M3 เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน (ER)

21.5.3.1. ลดระยะเวลาการตรวจรักษาใน ER กลุ่ม 1A

21.5.3.2. M2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกระบวนการผู้ป่วยใน

21.5.3.2.1. ลดระยะเวลารอคอยหลังการจำหน่ายผู้ป่วย

21.5.3.2.2. ลดระยะเวลาวันนอนตามมาตรฐานแต่ละโรค

21.5.3.3. ลดจำนวนผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินใน ER

21.5.3.3.1. เพิ่มการรับบริการกลุ่มไม่ฉุกเฉินใน รพสต.

21.5.4. จัดตั้งคลินิกนอกเวลา (16.00-20.00น.)

21.6. M12 การสร้างภาพลักษณ์ที่ดี รู้จักในวงกว้าง

21.7. ความพึงพอใจระบบโครงสร้างพื้นฐานของนิสิต

21.8. ลดระยะเวลาการรับบริการผู้ป่วยนอก (เป้าหมายน้อยกว่า 3 ชั่วโมงในปี 2566)

21.9. A2 เป็นฐานผลิตแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ มศว ที่มีคุณภาพ

22. มุมมองด้านกระบวนการภายใน

22.1. M4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริการพิเศษ

22.2. M6 บริหารอัตรากำลังให้เหมาะสมกับภาระงาน

22.3. M10 พัฒนาและจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน ICT ในการบริหาร การบริการและการพัฒนาองค์กร

22.3.1. จัดบริการผู้ป่วยปฐมภูมิผ่านระบบ IT เช่น การรายงานผล LAB การลงทะเบียนผู้ป่วย การตรวจรักษาที่ รพสต. การขึ้นทะเบียนผู้พิการ การตรวจรักษา เยี่ยมบ้านผ่านระบบ IT

22.4. M11 การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

22.4.1. บุคลากรผ่านการอบรมอัคคีภัย 100%

22.5. M13 บริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมภายในสถานที่ปฏิบัติงาน

22.5.1. เพิ่มช่องทางการสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ด้วยภาษาอังกฤษ

22.5.2. T1 การประชาสัมพันธ์ศูนย์การแพทย์ฯ ให้เป็นที่รู้จักระดับนานาชาติ

22.5.3. หน่วยงานกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคุณภาพสิ่งแวดล้อมและมีแผนปรับปรุงแก้ไข 100 %