ห้องสมุด & ทรัพยากรสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ห้องสมุด & ทรัพยากรสารสนเทศ by Mind Map: ห้องสมุด & ทรัพยากรสารสนเทศ

1. ห้องสมุด(Library)

1.1. ความหมาย

1.1.1. ห้อง : สถานที่

1.1.2. สมุด : ความหมายของหนังสือ

1.1.3. ห้องสมุด : สถานที่รวบรวมความรู้(หนังสือ)

1.2. ความสำคัญ

1.2.1. แหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ

1.2.2. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ต่างๆได้อย่างอิสระ

1.2.3. สถานที่ให้การศึกษาต่อเนื่อง

1.2.4. ช่วยให้ผู้ใช้บริการห้องสมุดมีความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ

1.2.5. แหล่งสารสนเทศที่ช่วยสร้างนิสัยรักการอ่าน

1.2.6. สนับสนุนการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

1.2.7. ช่วยให้ผู้ใช้รู้จักการเคารพสิทธิของผู้อื่น และเคารพกฎระเบียบของสังคม

1.2.8. สถานที่เก็บรักษาวัฒนธรรมท้องถิ่นและให้ความบันเทิง

1.3. บทบาท

1.3.1. ด้านการศึกษา

1.3.1.1. เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

1.3.1.2. ผู้เรียนจำเป็นต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง

1.3.1.3. ตอบสนองแนวทางการจัดการเรียนการศึกษา

1.3.1.4. ค้นหาเนื้อหาวิชาตรงตามความมุ่งหมายแต่ละบุคคล

1.3.2. ด้านวัฒนธรรม

1.3.2.1. ศูนย์รวมและรักษาวัฒนธรรม

1.3.2.2. มีบทบาทควบคู่กับอารยธรรมของมนุษยชาติ

1.3.2.3. เป็นเครื่องวัดความเจริญก้าวหน้า

1.3.3. ด้านเศรษฐกิจ

1.3.3.1. ความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

1.3.3.2. ช่วยสร้างงานและคน ให้มีความรู้

1.3.3.3. พัฒนาความสามารถอาชีพการงาน

1.3.3.4. ช่วยประหยัดงบประมาณส่วนบุคคล

1.3.4. ด้านการเมืองการปกครอง

1.3.4.1. ส่งเสริมให้ผู้คนมีความรู้ในระบอบการปกครอง

1.3.4.2. เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม

1.4. วัตถุประสงค์

1.4.1. เพื่อการศึกษา

1.4.1.1. พัฒนาพลเมืองให้มีความรู้

1.4.1.2. มีความสามารถในการศึกษาด้วยตนเอง

1.4.1.3. เพื่อให้นำความรู้วิชาการนำไปประกอบวิชาชีพ

1.4.2. เพื่อความรู้ข่าวสารที่ทันสมัย

1.4.2.1. พัฒนาคุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

1.4.2.2. เพื่อให้ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวและเหตการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น

1.4.3. เพื่อการการค้นคว้าวิจัย

1.4.3.1. นำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานหรือแก้ไขปัญหาต่างๆ

1.4.3.2. เพิ่มความก้าวหน้าทางวิชาการ

1.4.3.3. เป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานในการค้นคว้าวิจัย

1.4.4. เพื่อเพิ่มแรงบรรดาลใจ หรือความสุขทางใจ

1.4.4.1. เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์

1.4.4.2. ยกระดับจิตใจและพัฒนาตนเอง

1.4.5. เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ

1.4.5.1. พักผ่อนสมอง ผ่อนคลายความเครียด

1.4.5.2. มีสาระทั้งสารคดีและบันเทิงคดี

1.4.5.2.1. นวนิยาย

1.4.5.2.2. เรื่องสั้น

1.4.5.2.3. นิตยสาร

1.4.5.3. พักผ่อนสมอง ผ่อนคลายความเครียด

1.5. องค์ประกอบของห้องสมุด

1.5.1. ผู้บริหาร

1.5.1.1. มีบทบาทในการสนับสนุนการดำเนินงาน

1.5.1.2. มีอำนาจพิจารณาให้การสนับสนุน ทางด้านการเงิน กำลังคน กำลังใจ

1.5.2. อาคารและสถานที่

1.5.2.1. มีสถานที่เพียงพอในการเก็บหนังสือและโสตทัศน์

1.5.3. ครุภัณฑ์

1.5.3.1. เป็นสิ่งจำเป็นในการที่จะเก็บหนังสือ สิ่งพิมพ์ วัสดุต่างๆ

1.5.3.2. เป็นเครื่องอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้

1.5.4. วัสดุสารนิเทศ

1.5.4.1. มีหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆ และโสตทัศน์วัสดุ

1.5.4.2. วัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์

1.5.5. บุคลากร

1.5.5.1. บรรณารักษ์ : มีความรู้ด้านวิชาบรรณารักษศาสตร์

1.5.5.2. บุคลากรร่วมดำเนินงานห้องสมุด

1.5.6. เงินอุดหนุน

1.5.6.1. ปัจจัยสำคัญในการจัดหาวัสดุสารนิเทศ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์

1.6. ประเภทของห้องสมุด

1.6.1. ห้องสมุดแห่งชาติ

1.6.1.1. เป็นแหล่งรวบรวมและเก็บรักษาหนังสือที่พิมพ์ภายในประเทศ

1.6.1.2. รวบรวมและรักษาวรรณกรรมของชาติ

1.6.1.3. กำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (ISBN) และประจำวารสาร (ISSN)

1.6.2. ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย

1.6.2.1. บริการในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา

1.6.2.2. มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับสถาบันนั้นๆ

1.6.2.3. จัดตั้งศูนย์บริการหรือศูนย์การเรียนรู้

1.6.3. ห้องสมุดโรงเรียน

1.6.3.1. ทรัพยากรสารสนเทศส่วนใหญ่เป็นไปตามหลักสูตรของระดับการศึกษานั้นๆ

1.6.3.2. เพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนและครูโรงเรียน

1.6.3.3. ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตร

1.6.4. ห้องสมุดประชาชน

1.6.4.1. เพื่อให้บริการแก่ประชาชน และสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต

1.6.4.2. เป็นศูนย์กลางบริการศึกษาสำหรับระบบการศึกษานอกระบบ

1.6.5. ห้องสมุดเฉพาะ

1.6.5.1. จัดตั้งโดยหน่วยงานที่ห้องสมุดสังกัดอยู่

1.6.5.2. ส่งเสริมความรู้ สติปัญญาของบุคลากรในหน่วยงาน

1.7. บริการของห้องสมุด

1.7.1. บริการการอ่าน

1.7.2. บริการให้ยืม-คืน

1.7.3. บริการจัดทำดัชนี

1.7.4. บริการด้านจัดทำบรรณานุกรม

1.7.5. บริการสารสนเทศ

1.7.6. บริการหนังสือสำรอง

1.7.7. บริการถ่ายเอกสาร

1.7.8. บริการห้องการเรียนรู้

1.7.9. บริการเอกสารสารสนเทศ

1.7.10. บริการแนะนำการใช้ห้องสมุด

1.7.11. บริการเผยแพร่สาระสังเขป

1.7.12. จัดแสดงนิทรรศการหนังสือ

1.8. กิจกรรมของห้องสมุด

1.8.1. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

1.8.2. กิจกรรมส่งเสริมความรู้เรื่องห้องสมุด

1.8.3. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน

1.8.4. กิจกรรมส่งเสริมความรู้ทั่วไป

1.8.5. กิจกรรมส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

2. ประวัติของห้องสมุด

2.1. ในต่างประเทศ

2.1.1. สมัยโบราณ

2.1.1.1. อารยธรรมสุเมเรียน

2.1.1.1.1. ชนชาติแรกในโลกที่บันทึกเรื่องราวต่างๆ ลงบนแผ่นดินเหนียว

2.1.1.1.2. ห้องสมุดที่มืชื่อเสียง : ห้องสมุดเมืองเทลโลว์

2.1.1.2. อารยธรรมบาบิโลเนียน

2.1.1.2.1. มีจดหมายเหตุเกิดขึ้น

2.1.1.2.2. ห้องสมุดที่มืชื่อเสียง : ห้องสมุดเบอร์ซิปปา แต่ถูกทำลายไปแล้ว

2.1.1.3. อารยธรรมอัสซีเรียน

2.1.1.3.1. สร้างห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ เพื่อคัดลอกและแปลวรรณกรรมต่างๆมาเก็บไว้

2.1.1.3.2. เป็นห้องสมุดแผ่นดินเหนียวที่ยิ่งใหญ่ที่สุด (22,000 แผ่น)

2.1.1.3.3. เป็นรากฐานของห้องสมุดต่างๆทั่วโลก

2.1.1.4. อารยธรรมอียิปต์

2.1.1.4.1. ชนชาติแรกที่นำเอา “ต้นปาปิรัส” มาทำเป็นแผ่น เรียกว่า กระดาษปาปิรัส

2.1.1.4.2. เพื่อใช้แทนการบันทึกบนแผ่นดินเหนียว

2.1.1.4.3. บันทึกโดยใช้อักษรภาพ ที่เรียกว่า ตัวอักษรไฮโรกลิฟฟิค

2.1.1.5. อารยธรรมกรีก

2.1.1.5.1. นิยมสะสมหนังสือเพื่อทำเป็นห้องสมุดส่วนตัว

2.1.1.5.2. บันทึกเรื่องราวลงบนแผ่นหนัง โคเดกซ์

2.1.1.5.3. สร้างห้องสมุดอเล็กซานเดรีย

2.1.1.5.4. สร้างห้องสมุดอเล็กซานเดรีย เป็นห้องสมุดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ

2.1.1.6. อารยธรรมโรมัน

2.1.1.6.1. สร้างห้องสมุดเพื่อส่งเสริมบารมี

2.1.1.6.2. สร้างห้องสมุดประชาชนแห่งแรก ชื่อ เขาปาลาไตน์

2.1.2. สมัยกลาง

2.1.2.1. ใช้หนังสัตว์ แทนกระดาษปาปิรัส เป็นวัสดุในการบันทึก

2.1.2.2. เกิดในช่วง ยุคมืด

2.1.2.3. ห้องสมุดตามเมืองใหญ่

2.1.2.3.1. ห้องสมุดแอบเบย์ ของซังกัลป์

2.1.2.3.2. ห้องสมุดเมืองฟลอเรนซ์

2.1.2.3.3. ห้องสมุดวัด กรุงโรม

2.1.3. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

2.1.3.1. ศตวรรษท่ี 15

2.1.3.1.1. รวบรวมต้นฉบับจานวนมากไว้ท่ี นครวาติกัน

2.1.3.2. ศตวรรษท่ี 16

2.1.3.2.1. สร้างแท่นพิมพ์กูเตนเบิร์ก ทำให้ผลิตหนังสือได้มาก

2.1.3.3. ศตวรรษท่ี 17

2.1.3.3.1. การศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างมีแบบแผน เริ่มจัดต้ังห้องสมุดมหาวิทยาลัย

2.1.3.4. ศตวรรษท่ี 18

2.1.3.4.1. จัดหมวดหนังสือแบ่งออกเป็น5ประเภท

2.1.3.5. ศตวรรษท่ี 19

2.1.3.5.1. จัดตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกันศึกษาวิชาบรรณารักษ์ (มหาวิทยาลัยโคลัมเบียร์)

2.1.4. สมัยใหม่

2.1.4.1. ศตวรรษที่ 20 เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย

2.1.4.2. นำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในห้องสมุด

2.1.4.3. เริ่มมีพระราชบัญญัติ

2.2. ในประเทศไทย

2.2.1. สมัยสุโขทัย

2.2.1.1. พ.ศ. 1800 – 1900

2.2.1.2. พ่อขุนรามคำแหง ทรงประดิษฐ์อักษรไทย และจารึกเรื่องราวบนแผ่นหินหรือเสาหิน

2.2.1.3. หลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงถือเป็นหนังสือเล่มแรกของไทย

2.2.1.4. ส่งสมณฑูตไปสืบศาสนาที่ลังกา

2.2.1.4.1. พุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ พร้อมทั้งคัมภีร์พระไตรปิฎก

2.2.1.4.2. จารึกลงในใบลาน เก็บในหอไตร

2.2.1.5. ไตรภูมิพระร่วง : วรรณกรรมสำคัญทางศาสนา

2.2.2. สมัยกรุงศรีอยุธยา

2.2.2.1. พ.ศ. 1893 – 2310

2.2.2.2. สร้างหอหลวง : เพื่อเก็บหนังสือราชการ

2.2.2.3. พ.ศ. 2310 : หอไตรและหอหลวงถูกพม่าทาลายได้รับความเสียหาย

2.2.3. สมัยธนบุรี

2.2.3.1. พ.ศ. 2310 – 2325

2.2.3.2. พระเจ้าตากสินได้โปรดให้ขอยืมพระไตรปิฎก จากเมืองนครศรีธรรมราช

2.2.3.3. สร้างหอพระไตรปิฎกหลวง(หอหลวง)

2.2.4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

2.2.4.1. พ.ศ. 2325 – ปัจจุบัน

2.2.4.2. พ.ศ. 2325 – ปัจจุบัน

2.2.4.3. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

2.2.4.4. พ.ศ. 2325 – ปัจจุบัน

2.2.4.5. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

2.2.4.5.1. สร้างหอพระมณเฑียร เพื่อเก็บพระไตรปิฎกหลวง

2.2.4.6. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

2.2.4.6.1. ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ

2.2.4.6.2. ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ

2.2.4.6.3. รวบรวมตำราต่างๆ มาตรวจแก้ไขและจาลึกลงบนแผ่นศิลา

2.2.4.6.4. รูปปั้นฤาษีดัดตน ตำรับการนวดและตำรายาไทย

2.2.4.7. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

2.2.4.7.1. หอพระสมุดวชิรญาณ

2.2.4.7.2. หอพุทธศาสนสังคหะ

2.2.4.7.3. หอสมุดสำหรับพระนคร

2.2.4.8. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

2.2.4.8.1. หอสมุดแห่งชาติ

2.2.4.9. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

2.2.4.9.1. หอจดหมายเหตุ

3. ทรัพยากรสารสนเทศ

3.1. ความหมายของสารสนเทศ

3.1.1. ศตวรรษท่ี 21 : ยุคสารสนเทศ(Infotmation Age)

3.1.2. มีความหลากหลายของสารสนเทศ

3.1.3. ข้อมูล : ข้อเท็จจริงที่เป็นนามธรรม รูปธรรม มีความหมาย มีคุณค่า

3.1.4. ข่าวสาร : เรื่องราว เหตุการณ์ ข้อมูลท่ีบ่งบอกถึงสิ่งที่เกิดข้ึน

3.1.5. สารสนเทศ : ข้อมูล ข่าวสาร ที่ถูกรวบรวมไว้เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ระหว่าง ผู้สื่อ-ผู้รับ

3.2. ความหมายทรัพยากรสารสนเทศห้องสมด

3.2.1. วัสดุท่ีใช้บันทึกข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ถูกรวบรวมไว้ที่ห้องสมุด

3.2.2. เหมาะสำหรับเสริมสร้างสติปัญญา อารมณ์และจิตใจ

3.3. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ

3.3.1. วัสดุตีพิมพ์ / สื่อสิ่งพิมพ์ : วัสดุที่ใช้อักษร ข้อความ เป็นสื่อในการบันทึก

3.3.1.1. หนังสือ

3.3.1.1.1. หนังสือสารคดี : ให้ความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ

3.3.1.1.2. หนังสือบันเทิงคดี : เขียนขึ้นจากจินตนาการ และประสบการของผู้เขียน มุ่งเน้นความเพลิดเพลิน

3.3.1.2. วารสาร/นิตยสาร/หนังสือพิมพ์

3.3.1.2.1. วารสาร : มุ่งเน้นทางด้านวิชาการและสาระความรู้

3.3.1.2.2. นิตยสาร : มุ่งเน้นด้านบันเทิงและเกร็ดความรู้

3.3.1.2.3. หนังสือพิมพ์ : มุ่งเน้นด้านการนำเสนอข่าวสารออกเป็นรายวัน

3.3.1.3. จุลสาร

3.3.1.3.1. สิ่งพิมพ์ที่รูปเล่มกะทัดรัด

3.3.1.3.2. มีความหนาไม่เกิน 60 หน้า

3.3.1.3.3. จัดพิมพ์ขึ้นโดยหน่วยงานต่างๆ

3.3.1.3.4. มุ่งเสนอความรู้เฉพาะเรื่อง

3.3.1.4. กฤตภาค

3.3.1.4.1. ข่าวสาร ความรู้ รูปภาพ หรือบทความต่างๆ

3.3.1.4.2. ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ ผนึกไว้บนกระดาษโดยระบุแหล่งที่มา

3.3.1.4.3. รวบรวมไว้ที่แฟ้มหรือวัสดุอื่นๆ

3.3.1.4.4. สำหรับการจัดเก็บและการใช้บริการ

3.3.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ : บันทึกถ่ายทอดสารสนเทศโดยอาศัยภาพและเสียง

3.3.2.1. โสตทัศนวัสดุ

3.3.2.1.1. แผ่นเสียง/เทปบันทึกเสียง

3.3.2.1.2. ภาพยนต์

3.3.2.1.3. เทปวีดิทัศน์/แผ่นวีดิทัศน์

3.3.2.1.4. รูปภาพ

3.3.2.1.5. แผนที่/ลูกโลก

3.3.2.1.6. แผนภูมิ

3.3.2.1.7. ภาพเลื่อน/ภาพนิ่ง

3.3.2.1.8. แผ่นโปร่งใส

3.3.2.1.9. หุ่นจำลอง

3.3.2.1.10. ของจริง/ของตัวอย่าง

3.3.2.2. วัสดุย่อส่วน

3.3.2.2.1. ไมโครฟิล์ม : ถ่ายข้อมูลลงบนม้วนฟิล์ม ขนาด 16-35 มม. โดยอ่านผ่านเครื่องอ่านไมโครฟิล์ม

3.3.2.2.2. ไมโครฟิช : ถ่ายข้อความลงบนแผ่นฟิล์ม โปร่งแสง ขนาด 3x5, 4x6, หรือ 5x8 นิ้ว อ่านด้วยเครื่องไมโครฟิช

3.3.2.3. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์

3.3.2.3.1. ซีดีรอม : CD-ROM (Compact Dise Read Only Memory)

3.3.2.3.2. แผ่นวิดีทัศน์ระบบดิจิตอล : DVD(Digital Versatile Dise)

3.3.2.3.3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ : E-Books(Electronic Books)

3.3.2.3.4. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ : E-Journals(Electronic Journals)

3.3.2.3.5. หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ : E-Newspaper(Electronic Newspapers)

3.3.2.3.6. ฐานข้อมูล : Database

3.3.2.3.7. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : E-mail(Electronic Mail)

3.3.2.3.8. เคเบิลทีวี : Cable Television / Cable TV

3.3.2.3.9. อินเตอร์เน็ต : Internet

4. ความสำคัญ บทบาท คุณค่าของสารสนเทศ

4.1. พฤติกรรมสารสนเทศ

4.1.1. ระดับความต้องการพื้นฐานของมนุษย์

4.1.1.1. ด้านร่างกาย

4.1.1.1.1. อาหาร

4.1.1.1.2. เครื่องนุ่งห่ม

4.1.1.1.3. ที่อยู่อาศัย

4.1.1.1.4. ยารักษาโรค

4.1.1.2. ด้านอารมณ์

4.1.1.2.1. อำนาจ

4.1.1.2.2. ความมั่นคง

4.1.1.2.3. ความสำเร็จ

4.1.1.2.4. การยอมรับ

4.1.1.3. ด้านปัญญา

4.1.1.3.1. การวางแผน

4.1.1.3.2. การเรียนรู้ : ความต้องการสารสนเทศ

4.1.2. ระดับความต้องการสารสนเทศ

4.1.2.1. เกิดจากสัญชาตญาณ

4.1.2.1.1. มีความต้องการ

4.1.2.1.2. ไม่แน่ใจว่าสารสนเทศจะช่วยแก้ปัญหาได้

4.1.2.1.3. ไม่สามารถแสดงความต้องการออกมาเป็น ภาษา/คำพูดได้

4.1.2.1.4. รู้ว่าต้องการต่อเมื่อไม่สามารถตอบสนอง ความต้องการนั้นได้

4.1.2.2. ตระหนักได้

4.1.2.2.1. รู้ว่าตนเองต้องการอะไร แต่ยังไม่สามารถ แสดงออกมาได้ชัดเจน

4.1.2.3. แสดงออก

4.1.2.3.1. เกิดเมื่อมีข้อข้องใจ/ วัตถุประสงค์บาง ประการ

4.1.2.3.2. ระบุความต้องการและสรุปออกมาเป็นคำพูด ที่แสดงความต้องการได้ชัดเจน

4.1.2.4. ปรับตามระบบสารสนเทศ

4.1.2.4.1. เชื่อมโยงความต้องการสารสนเทศเข้ากับทรัพยากรสารสนเทศแต่ละชนิดได้

4.1.3. วัตถุประสงค์ของความต้องการ และการใช้สารสนเทศ

4.1.3.1. เพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น

4.1.3.2. เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

4.1.3.3. เพื่อศึกษาและพัฒนาทั้งในส่วนตนและสังคม

4.1.3.4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานหรือการบริหารงาน

4.1.3.5. เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตส่วนตัวและการงาน

4.1.3.6. เพื่อสนับสนุนการค้นคว้าวิจัยให้มีประสิทธิภาพ

4.1.4. ลักษณะสารสนเทศที่บุคคลต้องการใช้

4.1.4.1. เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้

4.1.4.2. ได้มาด้วยความสะดวก

4.1.4.3. มีลักษณะสอดคล้องกับค่านิยม ความเชื่อ และทัศนคติของบุคคล

4.1.4.4. มีลักษณะเฉพาะ ตอบสนองความต้องการเฉพาะอย่างของบุคคลได้

4.1.4.5. มีความหลากหลาย ถูกต้อง และครบถ้วน

4.1.5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสวงหา และการใช้สารสนเทศ

4.1.5.1. ด้านอาชีพและหน้าท่ีการงานของบุคคล

4.1.5.1.1. หน้าท่ีความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล

4.1.5.1.2. กระบวนการของการวางแผนและระดับการตัดสินในท่ีบุคคลเก่ียวข้อง

4.1.5.1.3. สาขาวิชาที่บุคคลประกอบอาชีพและปฏิบัติงาน

4.1.5.1.4. ลักษณะและสภาพแวดล้อมของหน่วยงานที่บุคคลปฏิบัติงาน

4.1.5.2. ด้านลักษณะทางประชากรของบุคคล

4.1.5.2.1. เพศ

4.1.5.2.2. อายุ

4.1.5.2.3. รายได้

4.1.5.2.4. ระดับการศึกษา

4.1.5.2.5. สาขาที่จบการศึกษา

4.1.5.2.6. ศาสนา

4.1.5.2.7. เชื้อชาติ

4.1.5.3. ด้านลักษณะทางจิตวิทยาของบุคคล

4.1.5.3.1. กระบวนการเลือกรับสาร

4.1.5.3.2. รูปแบบการดำเนินชีวิต

4.1.5.4. ด้านสารสนเทศ

4.1.5.4.1. การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ

4.1.5.4.2. ค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้สารสนเทศ

4.1.5.4.3. คุณภาพของสารสนเทศและประโยชน์ที่ได้รับ

4.1.6. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

4.1.6.1. การต้ังใจท่ีตนมิได้ริเริ่ม

4.1.6.2. การค้นโดยตนมิได้ริเริ่ม

4.1.6.3. การค้นท่ีตนริเร่ิม

4.1.6.4. การค้นท่ีดำเนินการอยู่

4.1.7. กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

4.1.7.1. ตระหนักและยอมรับปัญหาสารสนเทศ

4.1.7.2. เข้าใจและให้นิยามปัญหา

4.1.7.3. เลือกระบบค้นหาสารสนเทศ

4.1.7.4. คิดสูตรการค้น

4.1.7.5. การค้นหาสารสนเทศ

4.1.7.6. ตรวจสอบผลลัพธ์

4.1.7.7. กลั่นกรองสารสนเทศ

4.1.7.8. ย้อนกลับ / ย้ำ / หยุด

4.1.8. พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ

4.1.8.1. ความต้องการสารสนเทศ

4.1.8.1.1. แหล่งสารสนเทศท่ีใช้ค้น

4.1.9. อุปสรรคและปัญหาของการแสวงหาสารสนเทศ

4.1.9.1. ตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ : ประสบการณ์ในการค้นหาข้อมูล

4.1.9.2. วิธีการและกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ : ช่องทางในการแสวงหาตาม ความสามารถเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล

4.2. ความสำคัญของสารสนเทศ

4.2.1. การดำรงชีวิตประจำวัน

4.2.1.1. สารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ

4.2.1.2. ช่วยให้มีทักษะในการแก้ปัญหา ตอบคำถามที่มีประสิทธิภาพ

4.2.1.3. ช่วยให้มีทักษะด้านเทคโนโลยีเพื่อสืบค้นข้อมูล

4.2.1.4. ช่วยให้รู้จักการวิเคราะห์และประเมินค่าสารสนเทศ

4.2.2. สังคม

4.2.2.1. เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

4.2.2.2. เพื่อพัฒนาประเทศโดยส่วนรวม

4.2.2.3. เพื่อความก้าวหน้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

4.2.2.4. มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม

4.2.2.5. Information is power

4.3. บทบาทของสารสนเทศ

4.3.1. ด้านการค้า

4.3.1.1. การดำเนินการค้าขึ้นอยู่กับการเผยแพร่สารสนเทศ

4.3.1.2. ทำให้ผู้ที่ต้องการสินค้าตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง

4.3.1.3. หากมีข้อมูลไม่เพียงพอก็อาจทำให้เกิดการล่าช้าและเสียหายได้

4.3.1.4. จัดเก็บข้อมูลและบริการของพ่อค้า เพื่อให้บริการผ่านทางคอมพิวเตอร์

4.3.1.5. โครงการ One Tambon One Product(OTOP)

4.3.2. ด้านการศึกษา

4.3.2.1. เพื่อการศึกษาของคนในประเทศเป็นหลัก

4.3.2.2. สนับสนุนให้จัดตั้งห้องสมุดและศูนย์กลางให้บริการสารสนเทศ

4.3.2.3. เพื่อส่งเสริมระบบการศึกษา

4.3.2.4. เพื่อให้สารสนเทศแพร่หลายและพัฒนาประเทศ

4.3.3. ด้านการเมือง

4.3.3.1. ส่งเสริมระบอบการเมืองภายในประเทศ

4.3.3.2. สนับสนุนให้ประชาชนเกิดความเข้าใจในระบอบการปกครอง

4.3.3.3. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงนโยบาย

4.3.4. ด้านอุตสาหกรรม

4.3.4.1. มีความสำคัญกับผู้ประกอบการลงทุน จำเป็นต้องศึกษาให้ลึกซึ้ง

4.3.4.2. ส่งเสริมให้นักธุรกิจได้รับรู้สารสนเทศ

4.3.4.3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม

4.3.5. ด้านวัฒนธรรม

4.3.5.1. เกี่ยวข้องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรมมาตั้งแต่สมัยโบราณ

4.3.5.2. มีส่วนสำคัญในการรักษาเอกลักษณ์ของชาติ

4.3.5.3. ช่วยพัฒนาจิตใจ

4.3.5.4. ต้องช่วยกันถ่ายทอดและสืบสานวัฒนธรรม

4.4. ประโยชน์ของสารสนเทศ

4.4.1. ลดอัตราการตายจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ

4.4.2. ช่วยให้ประชาชนเป็นผู้บริโภคอย่างฉลาด

4.4.3. พัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน

4.4.4. ลดความผิดพลาดในการตัดสินใจ

4.4.5. ส่งเสริมการศึกษา ค้นคว้า และลดค่าใช้จ่ายจากการทำวิจัยซ้ำซ้อน

4.4.6. สามารถแก้ไขปัญหาได้ดีขึ้น

4.4.7. เป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้างองค์ความรู้

4.4.8. เป็นองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาประเทศ

4.5. คุณค่าของสารสนเทศ

4.5.1. ไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัย4ประการ

4.5.1.1. เวลา

4.5.1.2. ความถูกต้อง

4.5.1.3. ความครบถ้วน

4.5.1.4. ความต่อเนื่อง

4.5.2. คุณสมบัติที่สำคัญในการวัดค่าสารสนเทศ

4.5.2.1. สามารถเข้าถึงได้

4.5.2.2. ความครบถ้วน

4.5.2.3. ความถูกต้องเที่ยงตรง

4.5.2.4. ความเหมาะสม

4.5.2.5. ความทันเวลา

4.5.2.6. ความชัดเจน

4.5.2.7. ความยืดหยุ่น

4.5.2.8. ความสามารถในการพิสูจน์ได้

4.5.2.9. ความซ้ำซ้อน

4.6. พัฒนาการของสารสนเทศ

4.6.1. ยุควัติทางการเกษตรกรรม

4.6.1.1. ประมาณ 8,000 ปีก่อนคริสกาล - ค.ศ.1750

4.6.1.2. คนในสังคมสารนิเทศแรกนี้มีความเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ

4.6.1.3. ปฏิบัติตามประเพณีนิยม

4.6.1.4. ถ่ายทอดความคิดจากบุคคลในครอบครัว / หมู่บ้าน

4.6.1.5. ไม่ได้มีโอกาสเห็นสังคมอื่นๆที่แตกต่างไปจากที่ตนอยู่อาศัย

4.6.1.6. รูปแบบ : ภาษาพูด ภาษาเขียน

4.6.2. ยุควัติทางอุตสาหกรรม

4.6.2.1. ค.ศ. 1750 – ค.ศ. 1950

4.6.2.2. มีการจัดทำหนังสือพิมพ์เพื่อสังคม

4.6.2.3. รูปแบบ : หนังสือ วารสาร สื่อสารสนเทศด้านสื่อมวลชน

4.6.2.4. การพัฒนาสื่อสารสนเทศ : ด้านวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์

4.6.2.5. ลดอุปสรรคในการเผยแพร่ : ระยะทาง เวลา ภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี

4.6.3. ยุคเทคโนโลยีระดับสูง

4.6.3.1. ค.ศ. 1950 – ปัจจุบัน

4.6.3.2. มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

4.6.3.3. เกิดสื่อใหม่ๆ ทำให้สภาพสังคมคล้ายกันทุกท่ี

4.6.3.4. ไม่มีปัญหาใดในการรับส่งสารสนเทศซึ่งกันและกัน

4.6.3.5. มีการปรับปรุงพัฒนาระบบโทรคมนาคม ทำให้สะดวกและรวดเร็วยิ่งข้ึน

5. ประโยชน์ของ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1. ข้อมูลสารสนเทศ สู่การพัฒนาความรู้

5.1.1. สังคมเกษตรกรรม

5.1.1.1. แข่งขันกับธรรมชาติ

5.1.1.2. มนุษย์รู้จักการเกษตร

5.1.2. สังคมอุตสาหกรรม

5.1.2.1. แข่งขันกับธรรมชาติที่มนุษย์ได้เข้าไปปรุงแต่ง

5.1.2.2. มนุษย์รู้จักการนำวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็น ผลผลิตทางอุตสาหกรรม

5.1.3. สังคมข่าวสาร

5.1.3.1. แข่งขันระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง

5.1.3.2. มนุษย์ตระหนักถึงคุณค่าของข่าวสาร : ข่าวสาร คือ อำนาจ

5.1.4. ยุคเศรษฐกิจแห่งปัญญาและการเรียนรู้

5.1.4.1. ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นการใช้ความรู้เป็น หลัก(Knowledge-Based Economy)

5.1.4.2. ส่งผลกระทบต่อการดำเนินเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของคนในสังคม

5.1.4.3. ปรับเปลี่ยนนโยบายไปสู่สภาพ เศรษฐกิจใหม่

5.1.4.4. ความรู้ที่มีจำนวนมากขึ้นผ่านประสบการณ์ที่เราสั่งสม

5.2. ความรู้

5.2.1. กว่าจะเป็นความรู้

5.2.1.1. สมองซีกซ้าย : ส่วนของการตัดสินใจ

5.2.1.1.1. การใช้ภาษา

5.2.1.1.2. การเขียน การอ่าน

5.2.1.1.3. ทักษะตัวเลข การใช้เหตุผล

5.2.1.1.4. ควบคุมการทำงานของมือขวา

5.2.1.1.5. การพูด การวิเคราะห์ การจัดลำดับ

5.2.1.2. สมองซีกขวา : ส่วนของการสร้างสรรค์

5.2.1.2.1. การเห็นภาพสามมิติ ศิลปะ

5.2.1.2.2. ดนตรี เพลง

5.2.1.2.3. จินตนาการในการริเริ่มสร้างสรรค์

5.2.2. เกิดจาก

5.2.2.1. สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน

5.2.2.2. การค้นคว้าหรือประสบการณ์

5.2.2.3. ความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเข้าใจ

5.2.2.4. การได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ

5.2.3. แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร

5.2.3.1. เอกสาร(กระดาษ) 26%

5.2.3.2. เอกสาร(อิเล็กทรอนิกส์) 20%

5.2.3.3. ฐานความรู้ 12%

5.2.3.4. สมองพนักงาน 42%

5.2.4. ประเภทของความรู้

5.2.4.1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในสมอง : ทักษะ ประสบการณ์ ความคิดริเริ่ม พรสวรรค์

5.2.4.2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง : หนังสือ ตำรา กฎระเบียบ วิธีปฏิบัติงาน

5.2.4.3. ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม : ความเชื่อ ความศรัทธา

5.3. กระบวนการจัดการความรู้

5.3.1. การแสวงหาความรู้

5.3.2. การสร้าง

5.3.3. การจัดเก็บ

5.3.4. การถ่ายทอด

5.3.5. การนำความรู้ไปใช้งาน

5.4. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้

5.4.1. ความสำคัญ

5.4.1.1. ช่วยรวบรวมองค์ความรู้ให้เป็นระบบ

5.4.1.2. เข้าถึงความรู้ได้ง่ายขึ้น

5.4.1.3. การแลกเปลี่ยนความรู้สามารถทำได้ง่ายขึ้น

5.4.1.4. ลดอุปสรรคในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้

5.4.1.5. ด้านการศึกษา

5.4.1.5.1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

5.4.1.5.2. การศึกษาทางไกล

5.4.1.5.3. การประชุมทางไกล

5.4.1.5.4. เครือข่ายการศึกษา

5.4.1.5.5. การใช้งานห้องสมุด

5.4.1.5.6. การใช้ในงานประจำและงานบริหาร

5.4.2. เทคโนโลยีการสื่อสาร

5.4.2.1. ช่วยให้บุคคลเข้าถึงความรู้ต่างๆได้สะดวกขึ้น

5.4.2.2. สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ

5.4.2.3. ค้นหาข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ได้ผ่านทางเครือข่ายอินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต หรืออินเทอร์เน็ต

5.4.3. เทคโนโลยีการทำงานร่วมกัน

5.4.3.1. สนับสนุนการทำงานร่วมกัน

5.4.3.2. ประสานการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5.4.3.3. ลดอุปสรรคเรื่องของระยะทาง ระยะเวลา

5.4.4. เทคโนโลยีการจัดเก็บ

5.4.4.1. ช่วยในการจัดเก็บและจัดการความรู้ต่างๆ

5.4.4.2. นำมาจัดการความรู้ เพื่อให้จัดเก็บได้มากที่สุด

5.4.5. สังคมเครือข่าย

5.4.5.1. เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว

5.4.5.2. ปรับเปลี่ยนพัฒนาตามพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภค

5.4.5.3. สังคมโลกออนไลน์กำลังเป็นที่นิยมอย่างสูง

5.5. บทบาทที่สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

5.5.1. การศึกษา

5.5.2. การดำรงชีวิตประจำวัน

5.5.3. การดำเนินธุรกิจ

5.5.4. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข

5.5.5. ด้านการเกษตร

5.5.6. ด้านการเงิน ธนาคาร

5.5.7. ด้านความมั่นคง

5.5.8. ด้านคมนาคม

5.5.9. ด้านวิศวกรรม

5.5.10. ด้านสถาปัตยกรรม

5.5.11. ด้านการพาณิชย์

5.5.12. ด้านอุตสาหกรรม

5.6. ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.6.1. ประโยชน์ของนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา

5.6.1.1. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น

5.6.1.2. ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม

5.6.1.3. ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้ สนุกสนาน

5.6.1.4. ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ

5.6.1.5. ช่วยลดเวลาในการสอน

5.6.1.6. ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

5.6.2. ประโยชน์ของเทคโนโลยีการศึกษาสำหรับผู้เรียน

5.6.2.1. ทำให้ผู้เรียนมีโอกาสใช้ความสามารถของตนเอง ในการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่

5.6.2.2. ผู้เรียนมีโอกาสตัดสินใจเลือกเรียนตามช่องทางที่เหมาะสมกับความสามารถ

5.6.2.3. ทำให้กระบวนการเรียนรู้ง่ายขึ้น

5.6.2.4. ผู้เรียนมีอิสระในการเลือก

5.6.2.5. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในทุกเวลา ทุกสถานที่

5.6.2.6. ทำให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น

5.6.2.7. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้มากกว่าเดิมในเวลาเท่ากัน

5.6.2.8. ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาที่กว้างและลึกซึ้งกว่าเดิม

5.6.2.9. ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักเสาะหาแหล่งการเรียนรู้

5.6.2.10. ฝึกให้ผู้เรียน คิดเป็น และสามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองได้