มะเร็งลําไส้ใหญ่ Large intestine cancer

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มะเร็งลําไส้ใหญ่ Large intestine cancer by Mind Map: มะเร็งลําไส้ใหญ่  Large intestine cancer

1. อาการและอาการแสดงของมะเร็งลำไส้ใหญ่

1.1. คลื่นไส้อาเจียน

1.2. มีท้องผูกสลับท้องเสีย

1.3. อ่อนเพลีย

1.4. อาจคลำได้ก้อนในท้อง

1.5. ถ่ายอุจจาระเป็นลำเล็กลง

1.6. ซีดมักพบเป็นอาการแสดงของมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้านขวา

1.7. ปวดท้องอย่างรุนแรง

1.8. ถ่ายอุจจาระเป็นเลือดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุดจากมะเร็งของเร็คตัม และ sigmoid

2. ภาวะแทรกซ้อน

2.1. เหนื่อยง่าย

2.2. ผู้ป่วยอาจเสี่ยงต่อภาวะลำไส้ตีบตัน

2.3. แผลติดเชื้อหลังการผ่าตัด

2.4. ภาวะเลือดออก

2.5. อาจเกิดมะเร็งแพร่กระจายบริเวณอวัยวะอื่นในร่างกาย

2.6. รู้สึกอ่อนเพลีย

2.7. ผลกระทบกระเทือนด้านจิตใจและอารมณ์

3. การตรวจวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่

3.1. 1. การตรวจร่างกายและการซักประวัติอาการ (Physical exam and History)

3.2. 2. การตรวจทวารหนักด้วยนิ้ว (Digital rectal exam - DRE)

3.3. 3. การตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal occult blood test - FOBT)

3.4. 4. การตรวจเอกซเรย์ลำไส้ใหญ่โดยการสวนแป้งแบเรียม (Barium enema)

3.5. 5. การส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย (Sigmoidoscopy)

3.6. 6. การส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ทั้งหมด (Colonoscopy)

3.7. 7.การถ่ายภาพลำไส้ใหญ่ด้วยการเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT colonoscopy หรือ Virtual colonoscopy

3.8. 8.การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy

4. พยาธิสภาพของมะเร็ง แบ่งตามลักษณะก้อนที่มองเห็น 4 ลักษณะ

4.1. 1. Fungating (Exophytic)

4.2. 2. Ulcerating

4.3. 3. Stenosing

4.4. 4. Constricting (Annular and Circumferential)

5. สาเหตุของมะเร็งลำไส้ใหญ่

5.1. การดื่มแอลกอฮอล์จัด

5.2. เป็นโรคทางพันธุกรรมบางอย่าง

5.3. การมีประวัติคนในครอบครัว

5.4. อาการท้องผูกมีความสัมพันธ์กับมะเร็งลำไส้ใหญ่

5.5. การมีประวัติเป็นโรคลำไส้ใหญ่อักเสบหรือเป็นแผลเรื้อรัง ได้แก่ โรคลำไส้ใหญ่อักเสบเป็นแผล (Ulcerative colitis) โรคโครห์น (Crohn’s disease)

5.6. เพศและเชื้อชาติ

5.7. เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2

5.8. การสูบบุหรี่เป็นระยะเวลานาน

5.9. ขาดการออกกำลังกาย

5.10. เคยมีประวัติผ่าตัดถุงน้ำดี

5.11. การกินอาหารเนื้อแดง

5.12. เคยมีประวัติได้รับการฉายรังสีรักษามะเร็งชนิดอื่นที่บริเวณท้องมาก่อน

5.13. ผู้ที่รักษามะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งอัณฑะ

5.14. เคยมีประวัติเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่

6. การรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่

6.1. การผ่าตัด (Surgery)

6.1.1. 1.1 การผ่าตัดเฉพาะที่ (Local excision)

6.1.2. 1.2 การตัดต่อลำไส้ (Resection)

6.1.3. 1.3 การตัดลำไส้และเปิดช่องขับถ่ายทางหน้าท้อง (Resection and Colostomy

6.1.4. 1.4 การผ่าตัดด้วยคลื่นวิทยุ (Radiofrequency ablation)

6.1.5. 1.5 การจี้ด้วยความเย็น (Cryosurgery)

6.2. การใช้รังสีรักษา (Radiation therapy)

6.3. การให้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)