1. 3. ระบบหายใจส่วนนำส่งก๊าซ
1.1. Air way
1.1.1. สาเหตุ
1.1.1.1. airway obstruction
1.1.1.2. การอักเสบของกล่องเสียง หลอดลมและโรคหอบหืด
1.1.2. กลไล
1.1.2.1. ระยะปรับตัว
1.1.2.1.1. การตีบแคบ เนื่องจากหลอดลมหดตัว : โรคหอบหืด
1.1.2.1.2. สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นบริเวณทางผ่านอากาศ
1.1.2.1.3. การอักเสบเรื้อรังบริเวณทางผ่านอากาศ
1.1.2.2. การปรับตัว+ปรับตัวล้มเหลว
1.1.2.2.1. ความต้านทานเพิ่มขึ้น
1.1.2.2.2. ประสิทธิภาพการหายใจลดลง
1.1.2.2.3. ภาวะเรื้อรัง ทำให้เพิ่มการสะสมอากาศในปอด อกถัง เคาะปอดได้เสียงโปร่งมาก
1.1.3. อาการ
1.1.3.1. ระดับเล็กน้อย
1.1.3.1.1. ไอ,เสียบแหบ,stridor,wheeze
1.1.3.2. ระดับปานกลาง
1.1.3.2.1. หายใจเร็ว,ปีกจมูกบาน,หายใจลำบาก,เหนื่อยง่าย,อกถัง เคาะปอดได้เสียงโปร่งมาก
1.1.3.3. ระดับรุนแรง
1.1.3.3.1. ขณะพักหายใจเสียงดัง,ซีด,ความดันโลหิตสูงขึ้น,หัวใจเต้นเร็ว,สับสน,กระสับกระส่าย
1.1.3.4. การอุดกั้นทางผ่านของอากาศโดยสิ้นเชิง
1.1.3.4.1. ไม่มีเสียงหายใจ,หายใจช้า,หยุดหายใจ,เขียวคล้ำ,ความดันโลหิตต่ำ,หัวใจเต้นช้า
1.2. ระบบไหลเวียนเลือด
1.2.1. หัวใจ
1.2.1.1. สาเหตุ
1.2.1.1.1. โรคกล้ามเนื้อหัวใจ,โรคหลอดเลือดหัวใจ,หัวใจเต้นผิดปกติ,ลิ้นหัวใจผิดปกติ,การขัดขวางการบีบตัวของหัวใจ
1.2.1.2. กลไก
1.2.1.2.1. โรคกล้ามเนื้อหัวใจ หัวใจเต้นผิดปกติและภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
1.2.1.2.2. ลิ้นหัวใจผิดปกติ ลิ้นหัวใจรั่ว/ปิดไม่สนิท
1.2.1.2.3. ลิ้นหัวใจมีแคลเซียมหรือหินปูนเกาะ และลิ้นหัวใจตีบ
1.2.1.2.4. ภาวะการบีบรัดตัวของหัวใจ
1.2.1.3. อาการ
1.2.1.3.1. เหนื่อยเมื่อออกกำลังกายเพียงเล็กน้อย
1.2.1.3.2. เจ็บหน้าอก หรือแน่นหน้าอกเหมือนมีของหนักมาทับ
1.2.1.3.3. หัวใจหยุดเต้น
1.2.2. หลอดเลือด
1.2.2.1. สาเหตุ
1.2.2.1.1. ความเสื่อมของหลอดเลือด
1.2.2.1.2. การอุดตันของหลอดเลือด
1.2.2.2. กลไก
1.2.2.2.1. 1. ลดการไหลเวียนเลือดไปสู่ปอด
1.2.2.2.2. 2. การไหลเวียนเลือดในปอดบกพร่อง
1.2.2.2.3. 3. ขัดขวางการแพร่ผ่านของก๊าซ
1.2.2.2.4. 4. การนำเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกายลดลง
1.2.2.3. อาการ
1.2.2.3.1. หัวใจขาดเลือด , สมองขาดเลือด , ขาขาดเลือด
1.2.3. เลือด
1.2.3.1. สาเหตุ
1.2.3.1.1. จำนวนเม็ดเลือดลดลง
1.2.3.1.2. ความผิดปกติของฮีโมโกลบิน
1.2.3.1.3. เสียเลือด เสียน้ำ
1.2.3.2. กลไก
1.2.3.2.1. การไหลเวียนเลือดในปอดบกพร่อง
1.2.3.3. อาการ
1.2.3.3.1. เหงื่อออก มือเท้าเย็น ซีด กระหายน้ำมาก หน้ามืด อ่อนเพลีย หัวใจเต้นเร็วถี่หรือ หายใจหอบ หัวใจเต้นเร็ว ชีพจรเร็ว เบา และหมดสติ
2. 2. ระบบช่วยแลกเปลี่ยนอากาศ
2.1. สาเหตุ
2.1.1. กระดูกซี่โครงหัก
2.1.2. กล้ามเนื้อหายใจ/เยื่อหุ้มปอด บาดเจ็บ
2.1.3. โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง,มะเร็งปอด,ปอดติดเชื้อ
2.1.4. มีเลือด หนอง ของเหลวภายในช่องระหว่างชั้นเยื่อหุ้มปอด
2.1.5. ความผิดปกติของภูมิคุ้มกัน
2.2. กลไก
2.2.1. กระดูกซี่โครงหัก
2.2.1.1. 1. ส่วนที่หักจะแยกออกจากผนังทรวงอก
2.2.1.2. 2. ผนังทรวงอกส่วนที่บาดเจ็บเคลื่อนไหวขณะหายใจเข้าและออกสวนทางกับการเคลื่อนไหวปกติ
2.2.2. ภาวะมีลมรั่วในช่องระหว่างชั้นของช่องเยื่อหุ้มปอด
2.2.2.1. เยื่อหุ้มปอดชั้นในและส่วนผนังแยกออกจากกัน
2.2.2.2. ความดันในชั้นช่องเยื่อหุ้มปอดเพิ่มขึ้น
2.2.2.3. ขัดขวางกลไกการหายใจเข้า
2.2.3. ภาวะเลือดออกในช่องระหว่างชั้นช่องเยื่อหุ้มปอด
2.2.3.1. เลือดขัดขวางการขยายตัวของปอด
2.2.4. หายใจลำบาก
2.2.4.1. ระยะแรก
2.2.4.1.1. ขาดออกซิเจน
2.2.4.2. ระยะปรับตัว
2.2.4.2.1. เพิ่มการหดตัวของกะบังลม+กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง
2.2.4.3. ระยะปรับตัวล้มเหลว
2.2.4.3.1. การระบายอากศบกพร่อง
2.3. อาการ
2.3.1. กระดูกซี่โครงหัก
2.3.1.1. ปอดขยายลดลง
2.3.1.2. เสียงหายใจเบา
2.3.1.3. ลดการแลกเปลี่ยนอากาศ
2.3.2. ภาวะเลือดออกในช่องระหว่างชั้นช่องเยื่อหุ้มปอด
2.3.2.1. ช็อค จากการฉีกขาดที่หลอดเลือดใหญ่หรือขั้วหัวใจ
2.3.3. หายใจลำบาก
2.3.3.1. ระยะแรก
2.3.3.1.1. หายใจเร็ว+สั้น ไม่ลึก
2.3.3.2. ระยะปรับตัว
2.3.3.2.1. หน้าอกบุ๋ม
2.3.3.2.2. ใช้กล้ามเนื้อ sternocleidomastoid+scalene+serratus
2.3.3.3. ระยะปรับตัวล้มเหลว
2.3.3.3.1. เขียวคล้ำ บริเวณ ริมฝีปาก เล็บ และผิวหนัง
3. 1. ระบบควบคุมการหายใจ
3.1. สาเหตุ
3.1.1. บาดเจ็บ สมองบวม เนื้องอก ความดันในสมองสูง
3.1.2. สารเคมี
3.1.2.1. Amphetamine,ยาสลบ,ยานอนหลับ,ยาแก้ปวด:Morphine
3.2. กลไก
3.2.1. 1.รบกวนศูนย์ควบคุมการหายใจ/วิถีประสาท
3.2.2. 2.เพิ่ม ลด หยุด ส่งสัญญาณประสาทไปควบคุมกล้ามเนื้อหายใจ
3.3. อาการ
3.3.1. ลักษณะการหายใจ
3.3.1.1. หายใจช้า
3.3.1.2. หายใจลึก
3.3.1.3. ถอนหายใจ
3.3.1.4. หายใจไม่สม่ำเสมอ
3.3.2. ไอ
3.3.2.1. ไอมากกว่าปกติ
3.3.2.1.1. ไอแห้ง ไม่มีเสมหะ
3.3.2.1.2. ไอมีเสมหะ
3.3.2.2. ไอน้อยกว่าปกติ
3.3.2.2.1. เนื่องจากได้รับมอร์ฟีน
3.3.3. การสำลัก
3.3.3.1. ขณะกลืนอาหารและน้ำ
4. ส่วนประกอบ
4.1. 1. ระบบควบคุมการหายใจ
4.1.1. สมอง
4.1.2. ไขสันหลัง+เส้นประสาท
4.1.2.1. นำคำสั่งจากสมองไปยังกล้ามเนื้อหายใจ
4.1.3. ไทรอยด์ฮอร์โมน
4.1.3.1. ควบคุม Metabolism
4.1.3.2. สั่งการหายใจเข้า-ออกอย่างต่อเนื่อง
4.2. 2. ระบบช่วยแลกเปลี่ยนอากาศระหว่างปอดและภายนอกร่างกาย
4.2.1. กระบังลม
4.2.2. กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครง
4.2.3. เยื่อหุ้มปอด
4.3. 3. ระบบหายใจส่วนนำส่งก๊าซ
4.3.1. Air way
4.3.1.1. nose,pharynx,larynx,trachea,bronchus,bronchiole,terminal bronchiole
4.3.1.2. หัวใจ หลอดเลือด เม็ดเลือดแดง
4.3.2. ระบบไหลเวียนเลือด
4.4. 4. ระบบหายใจส่วนแลกเปลี่ยนก๊าซ และหลอดเลือดฝอย
4.4.1. ระบบหายใจ
4.4.1.1. respiratoy bronchiole,alveolar duct, alveolar sac,pulmonary alveolus
4.4.2. หลอดเลือดฝอยรอบ pulmonary alveolus + หลอดเลือดฝอยที่เซลล์
4.5. 5. เซลล์ทั่วร่างกาย
4.5.1. Metabolism
5. 5. การหายใจระดับเซลล์เพิ่มขึ้น
5.1. สาเหตุ
5.1.1. เซลล์ให้พลังงานเพิ่มขึ้น
5.2. กลไก
5.2.1. การติดเชื้อและเซลล์มะเร็ง
5.2.2. การผิดปกติของไทรอยด์ฮอร์โมน
5.3. อาการ
5.3.1. มีไข้สูงกว่า 38 องศาหรือต่ำกว่า 36 องศา
5.3.2. หายใจเร็ว หายใจหอบ
5.3.3. หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ
6. 4. การแลกเปลี่ยนก๊าซ
6.1. สาเหตุ
6.1.1. ภาวะน้ำท่วมปอด
6.1.2. การสำลักน้ำ หรืออาหาร
6.1.3. การอักเสบ
6.1.4. การติดเชื้อ
6.1.5. มะเร็ง
6.2. กลไก
6.2.1. การอักเสบของถุงลม
6.2.1.1. เพิ่มปริมาณน้ำในถุงลมและระหว่างถุงลม
6.2.1.2. ขัดขวางการแพร่ผ่านของอาการ/การซึมซาบ
6.2.2. ทำลายเซลล์ปอด/เนื้อเยื่อปอดตาย
6.2.2.1. สร้างเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมาล้อมรอบเนื้อตาย
6.2.2.2. ลดการขยายตัวของปอด
6.2.2.3. ลดการระบายอากาศลดลง
6.2.2.4. ลดการแพร่ผ่านของอาการ/การซึมซาบลดลง
6.2.3. ภาวะมีหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด
6.2.3.1. พังผืดฉีกขาด
6.2.3.2. สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอด
6.2.3.3. การระบายอากาศลดลง
6.2.3.4. การแพร่ผ่านของก๊าซ/การซึมซาบลดลง
6.2.3.5. เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
6.2.4. ปอดมีสิ่งแปลกปลอม
6.2.4.1. ไอระบายสิ่งแปลกปลอม
6.2.4.2. เกิดพังผืดมาล้อมรอบสิ่งแปลกปลอม
6.3. อาการ
6.3.1. มีไข้ หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัว
6.3.2. ไอมีเสมหะสีขาว เหลือง หรือเขียว
6.3.3. เหนื่อย เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ซีด นิ้วปุ้ม
6.3.4. ปอดลดการขยายตัว เสียงหายใจเบา เสียงเคาะทึบ ฟังปอดได้ยินเสียง Crackle
7. Respiratory failure
7.1. ความหมาย
7.1.1. ภาวะซึ่งระบบหายใจทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
7.2. ประเภท
7.2.1. ตามระยะเวลาการเกิด
7.2.1.1. เฉียบพลัน
7.2.1.2. เรื้อรัง
7.2.1.3. เฉียบพลันร่วมกับเรื้อรัง
7.2.2. ตามสาเหตุ
7.2.2.1. Type 1 พร่องออกซิเจน ,<60 mmHg.
7.2.2.2. Type 2 คาร์บอนไดออกไซด์สูง > 50 mmHg. + เลือดเป็นกรด
7.3. สาเหตุ
7.3.1. ความบกพร่องในการนำออกซิเจนไปสู่เซลล์
7.3.1.1. การระบายอากาศบกพร่อง (Ventilation defect)
7.3.1.2. การแพร่ผ่านก๊าซบกพร่อง (Diffusion defect)
7.3.2. ความผิดปกตินอกระบบทางเดินหายใจ
7.3.2.1. ระบบประสาทส่วนกลาง ส่วนปลาย และกล้ามเนื้อลาย
7.3.2.2. ทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด
7.3.2.3. หัวใจ หลอดเลือด เลือด
7.3.3. เซลล์ใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
7.3.3.1. เมตาบอลิซึมระดับเซลล์เพิ่มขึ้น
7.4. กลไกและอาการ
7.4.1. ระดับออกซิเจนในเลือดแดงต่ำ
7.4.1.1. ระยะปรับตัว
7.4.1.1.1. กระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ
7.4.1.1.2. กระตุ้นประสาทซิมพาเทติค
7.4.1.2. ระยะปรับตัวล้มเหลว
7.4.1.2.1. Tussue hypoxia
7.4.2. ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดงสูง และภาวะกรดเกิน
7.4.2.1. เพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดง
7.4.2.1.1. หลอดเลือดในสมองขยายตัว
7.4.2.1.2. เลือดเป็นกรด