ปฎิบัติการที่ 3 : สมดุลเคมี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฎิบัติการที่ 3 : สมดุลเคมี by Mind Map: ปฎิบัติการที่ 3  : สมดุลเคมี

1. 2. นำสารละลายจากข้อ1 มาเติมน้ำกลั่นครั้งละ 2 cm3 บันทึกสีของสารละลายหลังจากเติมน้ำกลั่นแต่ละครั้งลงในตารางบันทึกผล และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็น

2. สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ใน EtOH 2.5 cm3

2.1. HCl 0 CM3 สีชมพูอ่อน

2.2. HCl 1 CM3 สีม่วงอ่อน

2.3. HCl 2 CM3 สีม่วงแกมน้ำเงิน

2.4. HCl 3 CM3 สีน้ำเงิน

3. ตอนที่2 : ผลของความเข้มข้นต่อสถานะสมดุล

3.1. ตอนก. ผลของการเติม HCl

3.2. ตอนข. ผลของการเติม H2O

3.2.1. สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ในน้ำ 2.5 cm3

3.2.1.1. H2O 0 CM3 สีม่วงอ่อน

3.2.1.2. H2O 2 CM3 สีชมพูแกมม่วง

3.2.1.3. H2O 4 CM3 สีชมพู

3.2.1.4. H2O 6 CM3 สีชมพูอ่อน

3.2.2. สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ใน EtOH 2.5 cm3

3.2.2.1. H2O 0 CM3 สีน้ำเงิน

3.2.2.2. H2O 1 CM3 สีน้ำเงินแกมม่วง

3.2.2.3. H2O 2 CM3 สีม่วง

3.2.2.4. H2O 3 CM3 สีม่วงอ่อน

4. 3. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ1 และข้อ2 โดยใช้ 0.4M Co(NO3)2ในเอธานอล 2.5 cm3 แทนแต่เติมกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้นลงไปครั้งละ 0.1 cm3 หรือ 2 หยด บันทึกผลในช่องบันทึกผล และ นำมาเติมน้ำกลั่นครั้งละ 0.1 cm3 หรือ 2 หยด บันทีกผลลงในแบบบันทึกการทดลอง

5. ตอนที่3 : ผลของอุณหภูมิต่อสภาวะสมดุล

5.1. สารละลาย CoCl2 + HCl เข้มข้น

5.1.1. หลอดที่1 : 0 องศาเซลเซียส ได้สีชมพูเข้ม

5.1.2. หลอดที่2 : 25 องศาเซลเซียส ได้สีชมพูแกมม่วง

5.1.3. หลอดที่3 : 80 - 90 องศาเซลเซียส ได้สีน้ำเงิน

6. 4. เปรียบเทียบปริมาณของคลอไรด์ที่ต้องการใช้ ในการทำให้สารละลายเกิดสีน้ำเงินในสารละลายที่มีแอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลาย กับสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย

7. สาร CoCl2 . 6H2O สีของผลึกชมพูแกมม่วง สีของสารละลายในตัวทำละลายน้ำกลั่นชมพูอ่อน สีของสารละลายในตัวทำละลายแอลกอฮอล์ ม่วง สีของสารละลายในตัวทำละลายอะซิโทนน้ำเงิน

8. 3. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ2 แต่ใช้เอธานอลและอะซิโทนเป็นตัวทำละลายแทนน้ำ บันทึกสีของสารละลาย อธิบายผลการทดลองโดยใช้หลักของสมดุลเคมี

9. วิธีทดลอง

9.1. ตอนที่1 : สถานะสมดุล

9.1.1. 1. บันทึกสีของ CoCl2 . 6H2O และ Co(NO3)2 . 6H2O ที่อยู่ในรูปของแข็ง

9.1.2. 2. นำหลอดทดลองมา 2 หลอด หลอดหนึ่งใส่ CoCl2 . 6H2O 2-3 ผลึก อีกหลอดหนึ่งใส่ Co(NO3)2 . 6H2O 2-3 ผลึก เติมน้ำกลั่นหลอดละ 1 cm3 เขย่าให้ละลายบันทึกสีของสารละลาย ( พยายามให้ผลึกทั้ง 2 หลอดมีปริมาณใกล้เคียงกัน )

9.2. ตอนที่2 : ผลของความเข้มข้นต่อสถานะสมดุล

9.2.1. 1. นำสารละลาย0.4 M Co(NO3)2 ในน้ำมา 2.5 cm3 ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 150 cm3 เติมกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น ( ทำในตู้ดูดควัน ) ลงไปครั้งละ 20 หยด ( 1 cm3) ( ระวังอย่าให้กรดสัมผัสผิวหนัง) เขย่าให้เข้ากันทุกครั้งที่เติมกรดลงไป บันทึกสีของสารละลายหลังจากเติมกรดแต่ละครั้งลงในแบบบันทึก และ อธิบายการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็น เก็บสารละลายที่ได้ เพื่อนำไปใช้ทดลองต่อในข้อ2

9.3. ตอนที่3 : ผลของอุณหภูมิต่อสภาวะสมดุล

9.3.1. 1.นำสารละลาย 0.4 M CoCl2 มา 2.5 cm3 ใส่ในขวดรูปชมพ่ขนาด 150 cm3 เติมกรด HCl เข้มข้นลงไป 30 หยด ( 1.5 cm3) เขย่าให้เข้ากัน สารละลายที่ได้จะมีสีม่วง ถ้าสารละลายไม่เป็นสีม่วงให้ปรับสีของสารละลาย โดยการเติมน้ำกลั่นหรือกรด HCl เข้มข้นลงไปทีละหยด

9.3.2. 2. แบ่งสารละลายสีม่วงใส่ในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอดละเท่าๆกัน และบันทึกผลที่เปลี่ยนแปลง อธิบายผลการทดลอง

9.3.2.1. หลอดที่1 นำไปแช่ในน้ำแข็ง

9.3.2.2. หลอดที่2 นำไปแช่ในน้ำร้อน อุณหภูมิประมาณ 80-90 องศาเซลเซียส

9.3.2.3. หลอดที่3 วางไว้ที่อุณหภูมิห้อง

10. ผลการทดลอง

10.1. ตอนที่1 : สถานะสมดุล

10.1.1. สารCo(NO3)2 . 6H2O สีของผลึกส้มอ่อน สีของสารละลายในตัวทำละลายน้ำกลั่นชมพูอ่อน สีของสารละลายในตัวทำละลายแอลกอฮอล์ ชมพูอ่อน สีของสารละลายในตัวทำละลายอะซิโทนม่วง

10.1.2. สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ในน้ำ 2.5 cm3

10.1.2.1. HCl 0 CM3 สีชมพูอ่อน

10.1.2.2. HCl 1 CM3 สีชมพูเข้ม

10.1.2.3. HCl 2 CM3 สีชมพูเกือบม่วง

10.1.2.4. HCl 3 CM3 สีม่วง

11. สารละลาบ 0.4 M Co(NO3)2 ในเอธานอล

12. CoCl2 . 6H2O

12.1. วัตถุประสงค์

12.1.1. 2. เพื่อศึกษาผลของความเข้มข้นและอุณหภูมิต่อสถานะสมดุล

13. อุปกรณ์และสารเคมี

13.1. หลอดทดลองขนาด 10 และ 20 cm3

13.2. ขวดรูปชมพู่ขนาด 150 cm3

13.3. บีกเกอร์ขนาด 50 cm3

13.4. กระบอกตวงขนาด 10 cm3

13.5. เทอร์โมมิเตอร์

13.5.1. ถ้ารบกวนสมดุลของระบบเปลี่ยนความเข้มข้น , ความดัน หรือ อุณหภูมิ ระบบจะเสียสมดุลไปแล้วระบบจะปรับตัว ให้เข้าสู่สถานะสมดุลใหม่อีกครั้ง โดยเกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ทำให้การรบกวนลดลง

13.6. กระดาษกรอง

13.7. Co(NO3)2 . 6H2O

13.8. สารละลาย 0.4 M CoCl2

13.8.1. สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2

13.9. เอธานอล

13.10. อะซิโทน

13.11. กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น ( conc HCL )

14. หลักของเลอชาเตลิเยร์