ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ by Mind Map: ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

1. สารสนเทศที่ได้มานั้นจะมีคุณค่าต่อการใช้หรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 ประการ

1.1. เวลา (Time) : รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และความต้องการในการใช้งาน

1.2. ความถูกต้อง (Accuracy) : ต้องชัดเจน ปราศจากความคลุมเคลือ ความผิดพลาด สามารถพิสูจน์ได้ ไม่มีการแต่งเติม จนส่งผลต่อความรู้สึกของผู้ใช้

1.3. ความครบถ้วน (Completeness) (Completeness) (Completeness) : ครบถ้วน ไม่ขาดหาย และไม่ถูกบิดเบือนจากความจริง มีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการในการใช้งาน

1.4. ความต่อเนื่อง (Continuation) : มีลักษณะการสะสมของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เป็นเนื้อหาเดียวกัน

2. เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้

2.1. -ช่วยในการรวบรวมองค์ความรู้ที่กระจัดกระจาย มีอยู่ในบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ -เพื่อให้เข้าถึงความรู้ได้ง่ายขึ้น พัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ -เป็นเครื่องมือ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมาย : งาน พัฒนาคน พัฒนาองค์กร

3. บทที่1

3.1. ความหมายของห้องสมุด

3.1.1. สถานที่รวบรวมความรู้ ให้บริการสารสนเทศทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ ไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีการคัดเลือกเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ และความสนใจของผู้ใช้ โดยมีบรรณารักษ์ ที่มีความรู้ ความชานาญ เป็นผู้ให้บริการ

3.2. ความสาคัญของห้องสมุด

3.2.1. -ช่วยให้ผู้ใช้บริการห้องสมุดมีความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ -แหล่งสารสนเทศที่ช่วยสร้างนิสัยรักการอ่าน -สนับสนุนการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ -ช่วยให้ผู้ใช้รู้จักการเคารพสิทธิของผู้อื่น และเคารพกฎระเบียบของสังคม -สถานที่เก็บรักษาวัฒนธรรมท้องถิ่นและให้ความเพลิดเพลิน

3.3. บทบาทของห้องสมุด

3.3.1. ด้านการศึกษา

3.3.1.1. -เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ:แต่ละคนมีความต้องการหรือความถนัดแตกต่างกัน -ผู้เรียนจำเป็นต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเพิ่มเติม -มีบทบาทตอบสนองแนวทางการจัดการเรียนการศึกษา -ค้นคว้าเนื้อหาวิชาแขนงต่างๆ ตรงตามความมุ่งหมายของแต่ละบุคคลและสถาบัน

3.3.2. ด้านวัฒนธรรม

3.3.2.1. -ศูนย์รวมและรักษาวัฒนธรรม -มีบทบาทควบคู่กับอารยธรรมของมนุษย์ชาติ -เป็นเครื่องวัดความเจริญก้าวหน้า

3.3.3. ด้านเศรษฐกิจ

3.3.3.1. -ความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ -ช่วยสร้างงานและคนให้มีความรู้ -พัฒนาความสามารถอาชีพการงาน -งานบริการสื่อการศึกษาในห้องสมุดช่วยประหยัดงบประมาณส่วนบุคคล

3.3.4. ด้านการเมืองการปกครอง

3.3.4.1. -ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าในในระบอบการปกครอง -เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม

3.4. วัตถุประสงค์ของห้องสมุด

3.4.1. เพื่อการศึกษา (Education)

3.4.1.1. -พัฒนาพลเมืองให้มีความรู้ เฉลียวฉลาด -มีความสามารถในการศึกษาด้วยตนเอง -เพื่อให้ความรู้วิชาการเพื่อนาไปประกอบวิชาชีพ -มีทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ เช่น หนังสือวิชาการ หนังสือสารคดี หนังสืออ้างอิง

3.4.2. เพื่อความรู้ข่าวสารที่ทันสมัยหรือสารนิเทศ (Information)

3.4.2.1. -แหล่งรวบรวมความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ที่ถูกต้อง ทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ -พัฒนาคุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน -เพื่อให้ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวและเหตการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น

3.4.3. เพื่อการการค้นคว้าวิจัย (Research)

3.4.3.1. -เพิ่มความก้าวหน้าทางวิชาการ -นำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานหรือแก้ไขปัญหาต่างๆของสังคม -แหล่งข้อมูลพื้นฐานในการค้นคว้าวิจัย -รายงานการวิจัยวิทยานิพนธ์ เพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศทางวิชาการ

3.4.4. เพื่อเพิ่มแรงบรรดาลใจ หรือความสุขทางใจ (Inspiration)

3.4.4.1. -แรงบันดาลในในการสร้างสรรค์ ทั้งต่อตนเอง วิชาการ สังคม วัฒนธรรม -เกิดความจรรโลงใน เห็นคุณค่า และชื่นชมผลงาน -ยกระดับจิตใจและพัฒนาตนเอง

3.4.5. เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ (Recreation)

3.4.5.1. -พักผ่อนสมอง ผ่อนคลายความเครียด -ความเพลิดเพลิน สบายใจ -มีสาระทั้งสารคดีและบันเทิงคดี -ทรัพยากรสารสนเทศ เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น นิตยสาร สื่อโสตทัศน์

3.5. องค์ประกอบของห้องสมุด

3.5.1. ผู้บริหาร

3.5.1.1. -มีบทบาทสาคัญที่สุดในการสนับสนุนการดาเนินงาน -มีอานาจพิจารณาให้การสนับสนุน ด้านการเงิน กาลังคน กาลังใจ

3.5.2. อาคารและสถานที่

3.5.2.1. --มีสถานที่เพียงพอในการเก็บหนังสือและโสตทัศน์ -อาจเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคาร

3.5.3. ครุภัณฑ์

3.5.3.1. -สิ่งจาเป็นสาหรับห้องสมุดในการที่จะเก็บหนังสือ สิ่งพิมพ์ วัสดุต่างๆ -เครื่องอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้

3.5.4. วัสดุสารนิเทศ

3.5.4.1. -จำเป็นต้องมีหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆ และโสตทัศน์วัสดุ -วัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์

3.5.5. บุคลากร

3.5.5.1. -บรรณารักษ์:มีความรู้ด้านวิชาบรรณารักษศาสตร์ -บุคลากรร่วมดาเนินงานห้องสมุด

3.5.6. เงินอุดหนุน

3.5.6.1. -ปัจจัยสาคัญในการจัดหาวัสดุสารนิเทศ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์

3.6. ประเภทของห้องสมุด

3.6.1. ห้องสมุดแห่งชาติ (National Library)

3.6.1.1. -แหล่งรวบรวมและเก็บรักษาหนังสือที่พิมพ์ภายในประเทศ -รวบรวมและรักษาวรรณกรรมของชาติ -จัดทาบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศแห่งชา -กาหนดเลขมาตราฐานสากลประจาหนังสือ (ISBN) และประจาวารสาร (ISSN) -จัดบริการแก่ประชาชนทั่วไป -หอสมุดแห่งชาติของไทย:จ.เชียงใหม่ จ.ชลบุรี จ.นครราชสีมา -หอสมุดแห่งชาติของต่างประเทศ:หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หอสมุดแห่งชาติฝรั่งเศส

3.6.2. ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย (College and University Library)

3.6.2.1. -บริการในสถาบันการสึกษาระดับอุดมศึกษา -ชื่อเรียกอื่น เช่น หอสมุดกลาง สานักวิทยบริการ ห้องสมุดคณะ -มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับสถาบันนั้นๆ -พัฒนาสู่ระบบห้องสมุดดิจิทัล -จัดตั้งศูนย์บริการหรือศูนย์การเรียนรู้

3.6.3. ห้องสมุดโรงเรียน (School Library)

3.6.3.1. -ห้องสมุดโรงเรียนอนุบาล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา -ทรัพยากรสารสนเทศส่วนใหญ่เป็นไปตามหลักสูตรของระดับการศึกษานั้นๆ -เพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนและครูโรงเรียน -ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตร

3.6.4. ห้องสมุดประชาชน (PublicLibrary)

3.6.4.1. -เพื่อให้บริการแก่ประชาชน -สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต -หอสมุดแห่งชาติ (National Library)ก็สามารถจัดอยู่ในห้องสมุดประเภทนี้ -เป็นศูนย์กลางบริการศึกษาสาหรับระบบการศึกษานอกระบบ

3.6.5. ห้องสมุดเฉพาะ (Special Library)

3.6.5.1. -จัดตั้งโดยหน่วยงานที่ห้องสมุดสังกัดอยู่ -ให้บริการผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกในหน่วยงานนั้นๆ -ส่งเสริมความรู้ สติปัญญาของบุคลากรในหน่วยงาน -ห้องสมุดธนาคาร ห้องสมุดโรงพยาบาล ห้องสมุดส่วนราชการ

3.7. บริการของห้องสมุด

3.7.1. บริการการอ่าน

3.7.2. บริการให้ยืม-คืน

3.7.3. บริการจัดทาดัชนี

3.7.4. บริการ ด้านจัดทาบรรณานุกรม

3.7.5. บริการสารสนเทศ

3.7.6. บริการหนังสือสารอง

3.7.7. บริการถ่ายเอกสาร

3.7.8. บริการห้องการเรียนรู้

3.7.9. บริการเอกสารสารสนเทศ

3.7.10. บริการแนะนาการใช้ห้องสมุด

3.7.11. บริการเผยแพร่สาระสังเขป

3.7.12. จัดแสดงนิทรรศการหนังสือ

3.8. กิจกรรมของห้องสมุด

3.8.1. -กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน -กิจกรรมส่งเสริมคววามรู้เรื่องห้องสมุด -กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน -กิจกรรมส่งเสริมความรู้ทั่วไป -กิจกรรมส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

4. บทที่2

4.1. ประวัติห้องสมุดในต่างประเทศ

4.1.1. ห้องสมุดสมัยโบราณ

4.1.1.1. อารยธรรมสุเมเรียน

4.1.1.1.1. -ชนชาติแรกในโลกที่บันทึกเรื่องราวต่างๆ -บันทึกลงบนแผ่นดินเหนียว -ห้องสมุดที่มืชื่อเสียง“ห้องสมุดเมืองเทลโลว์”

4.1.1.2. อารยธรรมบาบิโลเนียน

4.1.1.2.1. -มีจดหมายเหตุเกิดขึ้นแล้ว -ห้องสมุดที่มืชื่อเสียง“ห้องสมุดเบอร์ซิปปา”ถูกทำลายไปแล้ว

4.1.1.3. อารยธรรม อัสซีเรียน

4.1.1.3.1. -พระเจ้าอัสสุรนิบาลสร้างห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ -เพื่อคัดลอกและแปลวรรณกรรมต่างๆมาเก็บไว้ -เป็นห้องสมุดแผ่นดินเหนียวที่ยิ่งใหญ่ที่สุด (22,000 แผ่น)

4.1.1.4. อารยธรรมอียิปต์

4.1.1.4.1. -ชนชาติแรกที่นาเอา“ต้นปาปิรัส" มาทำเป็นแผ่นกระดาษ -เพื่อใช้แทนการบันทึกบนแผ่นดินเหนียว -มีอักษรภาพ“ตัวอักษรไฮโรกลิฟฟิค”

4.1.1.5. อารยธรรมกรีก

4.1.1.5.1. -ยุคทองของอารยธรรม -นิยมสะสมหนังสือเพื่อทำเป็นห้องสมุดส่วนตัว -การบันทึกเรื่องราวลงบนแผ่นหนัง โคเดกซ์ -พระเจ้าปะโตเลมีที่1ทรงโปรดให้สร้างห้องสมุด -“ห้องสมุดอเล็กซานเดรีย"ห้องสมุดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ

4.1.1.6. อารยธรรมโรมัน

4.1.1.6.1. -รุ่งเรืองคล้ายอารยธรรมกรีก -สร้างห้องสมุดเพื่อส่งเสริมบารมี -จักพรรดิ์ออกัส ทรงโปรดให้สร้างห้องสมุดประชาชน -ห้องสมุดประชาชนแห่งแรก “เขาปาลาไตน์”

4.1.2. ห้องสมุดสมัยกลาง

4.1.2.1. -ยุคมืด:ภัยสงคราม ไข้ทรพิษระบาด -ห้องสมุดตามเมืองใหญ่(ห้องสมุดแอบเบย์ ของซังกัลป์ ห้องสมุด เมืองฟลอเรนซ์ ห้องสมุดวัด กรุงโรม ) -ใช้หนังสัตว์ กระดาษปาปิรัส เป็นวัสดุในการบันทึก

4.1.3. ห้องสมุดสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

4.1.3.1. ศตวรรษที่ 15

4.1.3.1.1. รวบรวมต้นฉบับจานวนมากไว้ที่ “นครวาติกัน”

4.1.3.2. ศตวรรษที่ 16

4.1.3.2.1. แท่นพิมพ์กูเตนเบิร์ก ทาให้ผลิตหนังสือได้มาก

4.1.3.3. ศตวรรษที่ 17

4.1.3.3.1. การศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างมีแบบแผน จัดตั้งห้องสมุดมหาวิทยาลัย

4.1.3.4. ศตวรรษที่ 18

4.1.3.4.1. ระบบจัดหมวดหนังสือแบ่งออกเป็น 5 ประเภท

4.1.3.5. ศตวรรษที่ 19

4.1.3.5.1. จัดตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ศึกษาวิชาบรรณารักษ์ (มหาวิทยาลัยโคลัมเบียร์)

4.1.4. ห้องสมุด สมัยใหม่

4.1.4.1. -ศตวรรษที่ 20 -การเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย -วัสดุไม่ตีพิมพ์ ประเภทโสตทัศนูปกรณ์ต่างๆ -นาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในห้องสมุด -มีพระราชบัญญัติ

4.2. ประวัติห้องสมุดในประเทศไทย

4.2.1. สมัยสุโขทัย (พ.ศ. 1800-1900)

4.2.1.1. -พ.ศ.1800 –1900 -พ่อขุนรามคาแหงทรงประดิษฐ์อักษรไทย -จารึกเรื่องราวต่างๆลงบนแผ่นหินหรือเสาหิน -หลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงถือเป็นหนังสือเล่มแรกของไทย -มีการส่งสมณฑูตไปสืบศาสนาที่ลังกา -มีหอไตร : เก็บหนังสือทางพุทธศาสนา -ไตรภูมิพระร่วง : วรรณกรรมสาคัญทางศาสนา -พระนิพนธ์ในสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1 พญาลิไทย

4.2.2. สมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1800-2310)

4.2.2.1. -พ.ศ.1893 –2310 -สร้างหอหลวง:เพื่อเก็บหนังสือราชการ -พ.ศ.2310:หอไตรและหอหลวงถูกพม่าทาลายได้รับความเสียหาย

4.2.3. สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2310-2325)

4.2.3.1. -พ.ศ.2310 –2325 -พระเจ้าตากสินได้โปรดให้ขอยืมพระไตรปิฎกจากเมืองนครศรีธรรมราช -สร้างหอพระไตรปิฎกหลวง หรือ“หอหลวง”

4.2.4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325-ปัจจุบัน)

4.2.4.1. -พ.ศ.2325 –ปัจจุบัน -พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก -โปรดเกล้าฯ ให้สร้างหอพระมณเฑียรเพื่อเก็บพระไตรปิฎก -พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว -โปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ รวบรวมตาราต่างๆ มาตรวจแก้ไขและจาลึกลงบนแผ่นศิลา(รูปปั้นฤาษีดัดตน ตารับการนวดและตารายาไทย) -พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีหอพระสมุดวชิรญาณ หอพุทธศาสนสังคหะ และหอสมุดสาหรับพระนคร -พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีหอสมุดแห่งชาติ -พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีหอจดหมายเหตุ

5. บทที่3

5.1. ความหมายของสารสนเทศ

5.1.1. -ศตวรรษที่ 21:“ยุคสารสนเทศ”หรือ“Information Age” -ต้องเผชิญกับความหลากหลายรูปแบบของสารสนเทศ -เกี่ยวข้องกับความรู้ (กระบวนการทางปัญญา การค้นหา การประเมิน การใช้สารสนเทศ การสื่อสาร )

5.1.2. ข้อมูล (Data)

5.1.2.1. ข้อเท็จจริงที่เป็นนามธรรม รูปธรรม มีความหมาย มีคุณค่า

5.1.3. ข่าวสาร (News)

5.1.3.1. เรื่องราว เหตุการณ์ ข้อมูลที่บ่งบอกถึงสิ่งที่เกิดขึ้น

5.1.4. สารสนเทศ (Information)

5.1.4.1. ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ที่ถูกรวบรวม

5.1.4.2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจ สามารถสื่อความหมาย ระหว่าง ผู้สื่อ -ผู้รับ

5.2. ความหมายทรัพยากรสารสนเทศ

5.2.1. ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด (Information Resources)

5.2.1.1. -วัสดุที่ใช้บันทึกข่าวสาร ความรู้ต่างๆ -มีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างสติปัญญา อารมณ์ และจิตใจ -วัสดุเหล่านี้ถูกจัดเก็บรวบรวมไว้ในห้องสมุด

5.2.2. วัสดุที่ใช้บันทึกข้อมูล ข่าวสารข้อเท็จจริง ตลอดจนความรู้ซึ่งได้มีการบันทึกไว้ ทั้งในรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

5.3. ประเภททรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด

5.3.1. วัสดุตีพิมพ์ / สื่อสิ่งพิมพ์ (Printed Materials)

5.3.1.1. -วัสดุที่ใช้อักษร ข้อความ เป็นสื่อในการบันทึกหรือถ่ายทอดสารสนเทศ -เทคนิคการพิมพ์การเขียนลงบนวัสดุชนิดต่างๆ

5.3.1.2. หนังสือ (Books)

5.3.1.2.1. หนังสือสารคดี (Non -Fictions): ให้ความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ

5.3.1.2.2. หนังสือบันเทิงคดี (Fictions):เขียนขึ้นจากจินตนาการ และประสบการของผู้เขียน มุ่งเน้นความเพลิดเพลิน โดยมีข้อคิด สาระ ความรู้สอดแทรกด้วย

5.3.1.3. วารสาร(Journals) นิตยสาร(Magazines (Magazines ) หนังสือพิมพ์(Newspapers)

5.3.1.3.1. วารสาร (Periodicals or Journals) : สิ่งพิมพ์ที่มีรายละเอียดเนื้อหาเน้นทางด้านวิชาการและสาระความรู้

5.3.1.3.2. นิตยสาร (Magazines) : สิ่งพิมพ์ประเภทต่อเนื่อง เนื้อหามุ่งเน้นด้านบันเทิงและเกร็ดความรู้

5.3.1.3.3. หนังสือพิมพ์ (Newspaper) : สิ่งพิมพ์ที่มุ่งเน้นด้านการนาเสนอข่าวสาร บทวิเคราะห์ วิจารณ์ ความบันเทิง ความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์ต่างๆในปัจจุบัน มักมี กาหนดออกเป็นรายวัน

5.3.1.4. จุลสาร (Pamphlet)

5.3.1.4.1. -สิ่งพิมพ์ที่รูปเล่มกะทัดรัด -มักมีความหนาไม่เกิน 60 หน้า -จัดพิมพ์ขึ้นโดยหน่วยงานต่างๆ -มุ่งเสนอความรู้เฉพาะเรื่องหรือสาขาวิชาต่างๆ

5.3.1.5. กฤตภาค (Clipping)

5.3.1.5.1. -ข่าวสาร ความรู้ รูปภาพ หรือบทความต่างๆ -โดยตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ -นามาผนึกไว้บนกระดาษโดยระบุแหล่งที่มา -เพื่อจัดรวบรวมไว้ที่แฟ้มหรือวัสดุอื่นๆ -สาหรับการจัดเก็บและการใช้บริการ

5.3.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ (Non -Printed Materials) Printed)

5.3.2.1. -วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ -บันทึกถ่ายทอดสารสนเทศโดยอาศัยภาพและเสียง -อาจมีหรือไม่มีตัวอักษรประกอบ -บางประเภทอาจไม่สามารถอ่านข้อมูลจากวัสดุนั้นโดยตรง

5.3.2.2. โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual (Audio Visual Materials)

5.3.2.2.1. แผ่นเสียง (Phonodiscs) , เทปบันทึกเสียง (Phonotapes) : วัสดุที่ให้ข่าวสาร ความรู้ ความบันเทิง ในรูปแบบของเสียง เช่น บทเพลง สุนทรพจน์ คาบรรยายต่างๆ

5.3.2.2.2. ภาพยนต์ (Motion pictures or Films) : สื่อที่ให้ความรู้ข่าวสาร ตลอดจนความบันเทิง ทั้งภาพและเสียง

5.3.2.2.3. เทปวีดิทัศน์ (Videotapes),แผ่นวีดิทัศน์ (Videodiscs) : จัดทาขึ้นเฉพาะ และจัดแยกจากหนังสือประเภทอื่นๆ

5.3.2.2.4. รูปภาพ (Pictures): เพื่อนาเสนอข้อมูลเพื่อให้เข้าใจเรื่องราวต่างๆชัดเจนขึ้น อาจเป็น ภาพวาด ภาพเขียน ภาพถ่าย หรือภาพพิมพ์

5.3.2.2.5. แผนที่ (Maps) , ลูกโลก (Globes) : วัสดุสารนิเทศนาเสนอข้อมูลความรู้แสดงเขตพื้นที่ หรือพื้นผิวโลกด้านกายภาพ

5.3.2.2.6. แผนภูมิ (Charts) : สื่อที่นาเสนอข้อมูลประเภทสัญลักษณ์ ตัวเลข ตัวหนังสือ ความสัมพันธ์

5.3.2.2.7. ภาพเลื่อน (Filmstrips) , ภาพนิ่ง (Slides) : สื่อที่นาเสนอข้อมูลประเภทภาพโปร่งแสงถ่ายบนฟิล์ม ลักษณะ ภาพนิ่งจะปรากฎทีละภาพ ส่วนภาพเลื่อนจะเป็นภาพต่อเนื่อง

5.3.2.2.8. แผ่นโปร่งใส (Transparencies) : สื่อที่นาเสนอข้อมูลลงบนแผ่นพลาสติกใส ต้องใช้ประกอบกับ เครื่องฉายภาพ

5.3.2.2.9. หุ่นจาลอง (Models) : เป็นวัสดุสามมิติที่สร้างขึ้นเพื่อเลียนแบบของจริงหรือใช้แทนของจริงที่ไม่สามารถนามาแสดงได้โดยตรง

5.3.2.2.10. ของจริง (Reals) , ของตัวอย่าง (Specimens) : เป็นสารสนเทศที่นามาเป็นตัวแทนของสิ่งหนึ่ง อาจเอามาเป็นบางส่วนจากของจริง หรือของเลียนแบบที่คล้ายของจริง

5.3.2.3. วัสดุย่อส่วน (Microforms)

5.3.2.3.1. ไมโครฟิล์ม (Microfilms) (Microfilms) : การถ่ายข้อความรู้ ข่าวสารจากเอกสารสิ่งพิมพ์ ลงบนม้วนฟิล์ม ขนาด 16 -35 มม. เก็บรวบรวมไว้โดยอ่านผ่านเครื่องอ่านไมโครฟิล์ม

5.3.2.3.2. ไมโครฟิช (Microfiches) :การถ่ายข้อความรู้ ข่าวสาร จากเอกสารสิ่งพิมพ์ ลงบนแผ่นฟิล์ม โปร่งแสง ขนาด 3x5, 4x6, หรือ 5x8 นิ้ว อ่านด้วยเครื่องไมโครฟิช

5.3.2.4. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Materials)

5.3.2.4.1. ซีดีรอม : CD -ROM : Compact ROM : Compact Dise Read Only Memory

5.3.2.4.2. แผ่นวิดีทัศน์ระบบดิจิตอล : DVD : Digital Versatile Dise

5.3.2.4.3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ : Electronic Books / E-Books

5.3.2.4.4. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ : Electronic Journals / E-Journals

5.3.2.4.5. หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ : Electronic Newspapers/ E-Newspapers

5.3.2.4.6. ฐานข้อมูล : Database

5.3.2.4.7. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : Electronic Mail / E-mail

5.3.2.4.8. เคเบิลทีวี : Cable Television / Cable TV

5.3.2.4.9. อินเตอร์เน็ต : Internet

6. บทที่4

6.1. ระดับความต้องการสารสนเทศ

6.1.1. ที่เกิดจากสัญชาตญาณ

6.1.1.1. -มีความต้องการ -ไม่แน่ใจว่าสารสนเทศจะช่วยแก้ปัญหาได้ -ไม่สามารถแสดงความต้องการออกมาเป็นภาษา/คาพูดได้ -รู้ว่าต้องการต่อเมื่อไม่สามารถตอบสนองความต้องการนั้นได้

6.1.2. ที่ตระหนักได้

6.1.2.1. -รู้ว่าตนเองต้องการอะไร แต่ยังไม่สามารถแสดงออกมาได้ชัดเจน

6.1.3. ที่แสดงออก

6.1.3.1. -เกิดเมื่อมีข้อข้องใจ / วัตถุประสงค์บางประการ -บุคคลมีความสามารถในการสรุปความคิด ระบุความต้องการและสรุปออกมาเป็นคาพูดที่แสดงความต้องการได้ชัดเจน

6.1.4. ที่ปรับตาม ระบบสารสนเทศ

6.1.4.1. -เชื่อมโยงความต้องการสารสนเทศเข้ากับทรัพยากรสารสนเทศแต่ละชนิดได้

6.2. วัตถุประสงค์ของความต้องการและการใช้สารสนเทศ

6.2.1. -เพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น -เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ -เพื่อศึกษาและพัฒนาทั้งในส่วนตนและสังคม -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานหรือการบริหารงาน -เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตส่วนตัวและการงาน -เพื่อสนับสนุนการค้นคว้าวิจัยให้มีประสิทธิภาพ

6.3. ลักษณะสารสนเทศที่บุคคลต้องการใช้

6.3.1. -เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ -ได้มาด้วยความสะดวก -มีลักษณะสอดคล้องกับค่านิยม ความเชื่อ และทัศนคติของบุคคล -มีลักษณะเฉพาะ ตอบสนองความต้องการเฉพาะอย่างของบุคคลได้ -มีความหลากหลาย ถูกต้อง และครบถ้วน

6.4. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสวหา และการใช้สารสนเทศ

6.4.1. ด้านอาชีพและหน้าที่การงาน

6.4.1.1. -หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล -กระบวนการของการวางแผนและระดับการตัดสินในที่บุคคลเกี่ยวข้อง -สาขาวิชาที่บุคคลประกอบอาชีพและปฏิบัติงาน -ลักษณะและสภาพแวดล้อมของหน่วยงานที่บุคคลปฏิบัติงาน

6.4.2. ด้านลักษณะทางประชากร

6.4.2.1. เพศ

6.4.2.2. อายุ

6.4.2.3. ราบได้

6.4.2.4. ระดับการศึกษา

6.4.2.5. สาขาวิชาที่จบการศึกษา

6.4.2.6. ศาสนา

6.4.2.7. เชื้อชาติ

6.4.3. ด้านลักษณะทางจิตวิทยา

6.4.3.1. กระบวนการเลือกรับสาร

6.4.3.1.1. การเลือกเปิดรับ

6.4.3.1.2. การเลือกให้ความสนใจการเลือกเปิดรับ

6.4.3.1.3. การเลือกรับรู้และตีความหมาย

6.4.3.1.4. การเลือกจดจำ

6.4.3.2. รูปแบบการดาเนินชีวิต

6.4.3.2.1. เช่น ชอบอยู่บ้าน ชอบใช้ชีวิตนอกบ้าน ชอบทากิจกรรม อื่นๆ

6.4.4. ด้านสารสนเทศ

6.4.4.1. -การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ (ใกล้, มีเครื่องมือช่วย, สะดวก, ง่าย, รวดเร็ว) -ค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้สารสนเทศ -คุณภาพของสารสนเทศและประโยชน์ที่ได้รับ

6.5. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

6.5.1. การตั้งใจที่ตนมิได้ริเริ่ม (Passive Attention) (Passive Attention) (Passive Attention) : การได้รับสารสนเทศจากรายการทางวิทยุ อาจจะไม่ได้มีเจตนาที่จะแสวงหาสารสนเทศ แต่ถือว่าได้เกิดการรับสารสนเทศขึ้น

6.5.2. การค้นโดยตนมิได้ริเริ่ม (Passive Search) : (Passive Search) : (Passive Search) : (Passive Search) : บุคคลหนึ่งได้รับสารสนเทศเรื่องหนึ่ง ในขณะที่กาลังค้นหาสารสนเทศอีกเรื่องหนึ่ง สารสนเทศที่ได้รับจึงไม่ใช่ที่ตั้งใจไว้ แต่ถือว่าได้รับสารสนเทศเช่นกัน

6.5.3. การค้นที่ตนริเริ่ม (Active Search) : (Active Search) : (Active Search) : การมุ่งค้นหาสารสนเทศจากระบบสารสนเทศในสถาบันบริการต่างๆ

6.5.4. การค้นที่ดาเนินการอยู่ (Ongoing Search) : (Ongoing Search) : การค้นหาสารสนเทศในเรื่องที่ผู้คน/ผู้แสวงหารสารสนเทศมีความรู้อยู่แล้ว เพียงแต่ต้องการแสวงหาสารสนเทศเพิ่มเติมเฉพาะด้าน (เฉพาะด้าน, รายละเอียดเจาะจง)

6.6. กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

6.6.1. 1. ตระหนักและยอมรับปัญหาสารสนเทศ

6.6.2. 2. เข้าใจและ ให้นิยามปัญหา

6.6.3. 3. เลือกระบบค้นหาสารสนเทศ

6.6.4. 4. คิดสูตรการค้น

6.6.5. 5. การค้นหาสารสนเทศ

6.6.6. 6. ตรวจสอบผลลัพธ์

6.6.7. 7. กลั่นกรองสารสนเทศ

6.6.8. 8. ย้อนกลับ / ย้า / หยุด

6.7. พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ

6.7.1. ความต้องการสารสนเทศ

6.7.1.1. แหล่งสารสนเทศ ที่ใช้ค้น

6.7.1.1.1. แหล่งภายใน

6.7.1.1.2. แหล่งภายนอก

6.8. อุปสรรคและปัญหาของการแสวงหาสารสนเทศ

6.8.1. ตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ :ประสบการณ์ในการค้นหาข้อมูล เช่น ความแตกต่างเฉพาะตัวบุคคลส่งผลต่อความต้องการที่ไม่เหมือนกัน

6.8.2. วิธีการและกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ: ช่องทางในการแสวงหาตามความสามารถเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล โดยใช้เทคนิค กลยุทธ์ในการค้น เพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ตนต้องการและเกิดความพึงพอใจสูงสุด

6.9. ความสาคัญของสารสนเทศ

6.9.1. การดำรงชีวิตประจำวัน

6.9.1.1. -ทุกคนล้วนแต่อาศัยสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ -ช่วยให้มีทักษะในการแก้ปัญหา ตอบคาถามที่มีประสิทธิภาพ (Effectively) และก่อให้เกิดประสิทธิผล (Efficiently) -ช่วยให้มีทักษะด้านเทคโนโลยีเพื่อสืบค้นข้อมูล (Gateway to information) -ช่วยให้รู้จักการวิเคราะห์ (Analyse) และประเมินค่าสารสนเทศ

6.9.2. สังคม

6.9.2.1. -เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง -เพื่อพัฒนาประเทศโดยส่วนรวม -เพื่อความก้าวหน้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุด -มีความสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม -มีคากล่าวว่า “Information is power” หมายถึงสารสนเทศคืออำนาจ

6.10. บทบาทของสารสนเทศ

6.10.1. ด้านการค้า

6.10.1.1. -การดำเนินการค้าขึ้นอยู่กับการเผยแพร่สารสนเทศ -ทาให้ผู้ที่ต้องการสินค้าตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง -หากมีข้อมูลไม่เพียงพอก็อาจทาให้เกิดการล่าช้าและเสียหายได้ -กระทรวงพาณิชย์ กรมพาณิชย์สัมพันธ์ จัดเก็บข้อมูลและบริการของพ่อค้า เพื่อให้บริการผ่านทางคอมพิวเตอร์ -เป็นประโยชน์ต่อการค้า ผลักดันให้มี “โครงการ One Tambon One Product ”

6.10.2. ด้านการศึกษา

6.10.2.1. -เพื่อการศึกษาของคนในประเทศเป็นหลัก -สนับสนุนให้จัดตั้งห้องสมุดและศูนย์กลางให้บริการสารสนเทศ -เพื่อประกอบการเรียนการสอน ส่งเสริมระบบการศึกษา -มีการแปลหนังสือ เพื่อให้สารสนเทศแพร่หลายและพัฒนาประเทศ -หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ

6.10.3. ด้านการเมือง

6.10.3.1. -ส่งเสริมระบอบการเมืองภายในประเทศ -สนับสนุนให้ประชาชนเกิดความเข้าใจในระบอบการปกครอง -ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงนโยบาย ระบบการปฏิบัติงานของราชการ -จัดตั้งศูนย์ข้อมูลของจังหวัดเพื่อเป็นคลังรวบรวมพื้นฐาน เพื่อการวางแผนด้านการปกครองทั้งปัจจุบันและในอนาคต

6.10.4. ด้านอุตสาหกรรม

6.10.4.1. -ในประเทศที่กาลังพัฒนาสารสนเทศมีความสาคัญ -โดยเฉพาะกับผู้ประกอบการลงทุน จาเป็นต้องศึกษาให้ลึกซึ้ง -รัฐบาลต้องมีบทบาทในการส่งเสริมให้นักธุรกิจได้รับรู้สารสนเทศ -การถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม

6.10.5. ด้านวัฒนธรรม

6.10.5.1. -บทบาทเกี่ยวข้องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรมมาตั้งแต่สมัยโบราณ -มีส่วนสาคัญในการรักษาเอกลักษณ์ของชาติ ตระหนักในศักดิ์ศรีในความเป็นชาติ และส่งผลให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ -ช่วยพัฒนาจิตใจ -เป็นหน้าที่ของคนรุ่นหลังที่ต้องช่วยกันถ่ายทอดและสืบสานวัฒนธรรม

6.11. ประโยชน์ของสารสนเทศ

6.11.1. ลดอัตราการตายจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ

6.11.2. ช่วยให้ประชาชนเป็นผู้บริโภคอย่างฉลาด

6.11.3. ส่งเสริมการศึกษา ค้นคว้า และลดค่าใช้จ่ายจากการทาวิจัยซ้าซ้อน

6.11.4. พัฒนาประสิทธิภาพการทางาน

6.11.5. เป็นองค์ประกอบสาคัญในการสร้างองค์ความรู้

6.12. คุณค่าของสารสนเทศ

6.12.1. คุณสมบัติที่สาคัญในการวัดค่าสารสนเทศ

6.12.1.1. สามารถเข้าถึงได้ (Accessibility) : ความสะดวกในการเข้าถึง

6.12.1.2. ความครบถ้วน (Completeness) : เนื้อหาสมบูรณ์ พิจารณาด้านคุณภาพ

6.12.1.3. ความถูกต้องเที่ยงตรง (Accuracy) : ต้องไม่มีข้อผิดพลาด ด้านการบันทึกข้อมูล การคานวณ

6.12.1.4. ความเหมาะสม (Appropriateness) : ข้อมูล/สารสนเทศตรงต่อความต้องการของผู้ใช้

6.12.1.5. ความทันเวลา (Timeline) : สั้นและมีความรวดเร็วในการประมวลผล เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับทันเวลา

6.12.1.6. ความชัดเจน (Clarity) หมายถึง สารสนเทศต้องชัดเจน ไม่กากวม

6.12.1.7. ความยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง ต้องให้ประโยชน์แก่บุคคลจานวนมากอย่างกว้างขวาง

6.12.1.8. ความสามารถในการพิสูจน์ได้ (Verifiability) หมายถึง ต้องสามารถพิสูจน์ ตรวจสอบได้ว่าจริง

6.12.1.9. ความซ้าซ้อน (Redundancy) หมายถึง มีความซ้าซ้อน มีมากเกินความจาเป็นหรือไม่

6.13. พัฒนาการของสารสนเทศ

6.13.1. คลื่นที่ 1 : ยุควัติทางการเกษตรกรรม (Agricultural Revolution)

6.13.1.1. -คนในสังคมสารนิเทศแรกนี้มีความเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ -ปฏิบัติตามประเพณี -ได้รับการถ่ายทอดความคิดจากบุคคลในครอบครัว / หมู่บ้าน -รูปแบบสารสนเทศ : ภาษาพูด ภาษาเขียน

6.13.2. คลื่นที่ 2 : ยุควัติทางอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)

6.13.2.1. -รูปแบบสารสนเทศ : หนังสือ วารสาร สื่อสารสนเทศด้านสื่อมวลชน -บทบาทต่อสังคม : มีการจัดทาหนังสือพิมพ์เพื่อสังคม -ลดอุปสรรคในการเผยแพร่ : ระยะทาง เวลา ภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี

6.13.3. คลื่นที่ 3: ยุคเทคโนโลยีระดับสูง (High Technology Civilization)

6.13.3.1. -ยุคปัจจุบัน -ยุคแห่งสังคมข่าวสาร: มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว -ยุคแห่งอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ : เกิดสื่อใหม่ๆ ทาให้สภาพสังคมคล้ายกันทุกที่ -มีการปรับปรุงพัฒนาระบบโทรคมนาคม ทาให้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

7. บทที่5

7.1. จากข้อมูลสารสนเทศสู่การพัฒนาความรู้

7.1.1. สังคมเกษตรกรรม

7.1.1.1. ยุคการแข่งขันกับธรรมชาติ

7.1.1.2. ยุคนี้มนุษย์รู้จักการเกษตร

7.1.1.2.1. ใช้ประโยชน์จากที่ดิน ท้องทะเล ธรรมชาติ

7.1.1.2.2. เพื่อการดารงชีวิตทั้งการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ จับสัตว์น้า

7.1.1.2.3. “อารยธรรมการเพาะปลูก”

7.1.2. สังคมอุตสาหกรรม

7.1.2.1. ยุคการแข่งขันกับธรรมชาติที่มนุษย์ได้เข้าไปปรุงแต่ง

7.1.2.2. ยุคนี้มนุษย์รู้จักการนาวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็นผลผลิตทางอุตสาหกรรม

7.1.2.2.1. นาพลังงานมาใช้ในการแปรรูปผลผลิต

7.1.2.2.2. แปรรูปเป็นสิ่งประดิษฐ์

7.1.2.2.3. แสดงถึงความพยายามที่เข้ามามีอิทธิพลเหนือธรรมชาติ

7.1.3. สังคมข่าวสาร

7.1.3.1. ยุคการแข่งขันระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง

7.1.3.2. ยุคนี้มนุษย์ตระหนักถึงคุณค่าของข่าวสาร

7.1.3.2.1. นำมาพัฒนาการเกษตร อุตสาหกรรม กิจกรรมด้านต่างๆ

7.1.3.2.2. พัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ มีพื้นฐานมาจากข่าวสาร

7.1.3.2.3. “ข่าวสาร คือ อานาจ”

7.1.4. ยุคเศรษฐกิจแห่งปัญญาและการเรียนรู้

7.1.4.1. Knowledge-Based Economy

7.1.4.2. ยุคนี้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นการใช้ความรู้เป็นหลัก

7.1.4.2.1. ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ = ปัจจัยทุน

7.1.4.2.2. การปฏิวัติทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Revolution)

7.1.4.2.3. การแพร่กระจายของการใช้อินเตอร์เน็ต (Internet Diffusion)

7.1.4.3. ส่งผลกระทบต่อการดาเนินเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของคนในสังคม

7.1.4.4. ประเทศต่างๆปรับเปลี่ยนนโยบายไปสู่สภาพ “เศรษฐกิจใหม่ (New Economy) ”

7.1.4.4.1. มุ่งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

7.1.4.4.2. สื่อสารกันอย่างไม่มีข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่

7.1.4.4.3. การค้าแบบไร้พรมแดน (Globalization)

7.1.4.5. ความรู้ที่มีจานวนมากขึ้นผ่านประสบการณ์ที่เราสั่งสม

7.2. พัฒนาการของยุคแห่งความรู้

7.2.1. Manual

7.2.2. Analogue

7.2.3. Digital

7.2.4. Knowledge

7.2.5. Experience

7.2.6. wisdom

7.3. ความรู้ (Knowledge)

7.3.1. -สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน -การค้นคว้าหรือประสบการณ์ -ความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเข้าใจ -สารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ การได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ

7.4. ขั้นของความรู้ (Knowledge) (Knowledge)

7.4.1. เชาวน์ปัญญา (Intelligence)

7.4.2. ความเฉลียวฉลาด (Wisdom)

7.4.3. ความรู้ (Knowledge)

7.4.4. สารสนเทศ (Information)

7.4.5. ข้อมูล (Data)

7.5. ประเภทของความรู้ (Knowledge)

7.5.1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในสมอง (Tacit Knowledge) : ความรู้ในตัวบุคคล ได้แก่ ทักษะ ประสบการณ์ ความคิดริเริ่ม พรสวรรค์ หรือสัญชาติญาณของบุคคลในการทาความเข้าใจ “ความรู้แบบนามธรรม”

7.5.2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) : ความรู้นอกตัวบุคคล เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ ผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร หนังสือ ตารา กฎระเบียบ วิธีปฏิบัติงาน ฯลฯ “ความรู้แบบรูปธรรม”

7.5.3. ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม (Culture Knowledge) : ความรู้ที่เกิดจากความเชื่อ ความศรัทธา เกิดจากผลสะท้อนของสังคมและสภาพแวดล้อม

7.6. กระบวนการจัดการความรู้

7.6.1. Demarest Model

7.6.1.1. Knowledge Construction

7.6.1.2. Knowledge Embodimentt

7.6.1.3. Knowledge Dissemination

7.6.1.4. Use

7.6.2. Turban Model

7.6.2.1. Create > Capture / Store > Refine > Distribute > Use > Monitor

7.6.3. Gilbert Probst Model

7.6.3.1. -Knowledge Identification -Knowledge Storage -Knowledge Utilization -Knowledge Distribution -Knowledge Development -Knowledge Acquisition -ทั้งหมดมีการเชื่อมโยงกันหมดในทุกๆด้าน

7.7. เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้

7.7.1. เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology)

7.7.1.1. -ช่วยให้บุคคลเข้าถึงความรู้ต่างๆได้สะดวกขึ้น -สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ -ค้นหาข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ได้ผ่านทางเครือข่ายอินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต หรืออินเทอร์เน็ต

7.7.2. เทคโนโลยีสนับสนุนการทางานร่วมกัน (Collaboration Technology)

7.7.2.1. -สนับสนุนการทางานร่วมกัน -สามารถประสานการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ -ลดอุปสรรคเรื่องของระยะทาง ระยะเวลา เช่น โปรแกรม Groupware, ระบบ Screen Sharing

7.7.3. เทคโนโลยีการจัดเก็บ (Storage Technology)

7.7.3.1. -ช่วยในการจัดเก็บและจัดการความรู้ต่างๆ -นามาจัดการความรู้ เพื่อให้จัดเก็บได้มากที่สุด

7.7.4. สังคมเครือข่าย (Social Network)

7.7.4.1. -เครื่องมือเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว -มีการปรับเปลี่ยนพัฒนาตามพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภค -ระบบสังคมโลกออนไลน์กาลังเป็นที่นิยมอย่างสูง

7.8. บทบาทสาคัญของ ICT

7.8.1. การศึกษา

7.8.2. การดำรงชีวิตประจาวัน

7.8.3. การดำเนินธุรกิจ

7.8.4. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข

7.8.5. ด้านการเกษตร

7.8.6. ด้านการเงินธนาคาร

7.8.7. ด้านความมั่นคง

7.8.8. ด้านการคมนาคม

7.8.9. ด้านวิศวกรรม

7.8.10. ด้านสถาปัตยกรรม

7.8.11. ด้านการพาณิชย์

7.8.12. ด้านอุตสาหกรรม

7.9. การประยุกต์ใช้กับงานด้านการศึกษา

7.9.1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CIA)

7.9.2. การศึกษาทางไกล (Direct To Home : DTH)

7.9.3. การประชุมทางไกล (Video Conference) (Video Conference)

7.9.4. เครือข่ายการศึกษา (World Wide Web : WWW)

7.9.5. การใช้งานห้องสมุด

7.9.6. การใช้ในงานประจาและงานบริหาร

7.10. ประโยชน์ของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

7.10.1. -ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น -ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม -ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้ สนุกสนาน -ช่วยลดเวลาในการสอน -ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

7.10.2. สำหรับผู้เรียน

7.10.2.1. -ทำให้ผู้เรียนมีโอกาสใช้ความสามารถของตนเอง ในการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ -ผู้เรียนมีโอกาสตัดสินใจเลือกเรียนตามช่องทางที่เหมาะสมกับความสามารถ -ทาให้กระบวนการเรียนรู้ง่ายขึ้น -ผู้เรียนมีอิสระในการเลือก -ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ -ทำให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น -ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักเสาะหาแหล่งการเรียน -ฝึกให้ผู้เรียน คิดเป็น และสามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองได้