Copy of ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Copy of ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ by Mind Map: Copy of  ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

1. ห้องสมุด

1.1. ความหมายของห้องสมุด

1.1.1. สถานที่รวบรวมความรู้ ให้บริการสารสนเทศทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ ไม่ตีพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีการคัดเลือก เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ และความสนใจของผู้ใช้ โดยมีบรรณารักษ์ เป็นผู้ให้บริการ

1.2. ความสำคัญของห้องสมุด

1.2.1. 1.แหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ 2.ค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างอิสระ 3.สถานที่ให้การศึกษาต่อเนื่อง 4.ช่วยให้ผู้ใช้บริการ มีความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ 5.ช่วยสร้างนิสัยรักการอ่าน 6.สนับสนุนการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 7.ช่วยให้ผู้ใช้รู้จักการเคารพสิทธิของผู้อื่นและระเบียบของสังคม 8.เป็นสถานที่เก็บวัฒนธรรมท้องถิ่นและให้ความเพลิดเพลิน

1.3. บทบาทของห้องสมุด

1.3.1. ด้านการศึกษา

1.3.1.1. เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

1.3.1.2. ต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

1.3.1.3. ตอบสนองแนวทางการจัดการศึกษา

1.3.1.4. ค้นคว้าเนื้อหาวิชาแขนงต่างๆตรงความมุ่งหมายของแต่ละบุคคล

1.3.2. ด้านวัฒนธรรม

1.3.2.1. ศูนย์รวมและรักษาวัฒนธรรม

1.3.2.2. มีบทบาทควบคู่กับอารยธรรมของมนุษยชาติ

1.3.2.3. เป็นเครื่องวัดความเจริญก้าวหน้า

1.3.3. ด้านเศรษฐกิจ

1.3.3.1. ความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

1.3.3.2. ช่วยสร้างงานและคนให้มีความรู้

1.3.3.3. พัฒนาความสามารถอาชีพการงาน

1.3.3.4. งานบริการในห้องสมุด ช่วยประหยัดงบประมาณส่วนบุคคล

1.3.4. ด้านการเมืองการปกครอง

1.3.4.1. ส่งเสริมให้มีความรู้ความเข้าใจในระบอบการปกครอง

1.3.4.2. เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม

1.4. องค์ประกอบของห้องสมุด

1.4.1. ผู้บริหาร

1.4.1.1. มีบทบาทสำคัญที่สุดในการสนับสนุนการดำเนินงาน

1.4.1.2. มีอำนาจพิจารณาให้การสนับสนุน

1.4.2. อาคารสถานที่

1.4.2.1. มีสถานที่เพียงพอในการเก็บหนังสือและโสตทัศน

1.4.2.2. อาจเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคาร

1.4.3. ครุภัณฑ์

1.4.3.1. สิ่งจำเป็นในการเก็บหนังสือ สิ่งพิมพ์ วัสดุต่างๆ

1.4.3.2. เครื่องอำนวยสะดวกแก่ผู้ใช้

1.4.4. วัสดุสารเทศ

1.4.4.1. จำเป็นต้องมีหนังสือ สิ่งพิมพ์ และโสตทัศน์

1.4.4.2. วัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์

1.4.5. บุคลากร

1.4.5.1. บรรณารักษ์ : มีความรู้ด้านวิชาบรรณารักษศาสตร์

1.4.5.2. บุคลากรร่วมดำเนินงานห้องสมุด

1.4.6. เงินอุดหนุน

1.4.6.1. ปัจจัยสำคัญในการจัดหาวัสดุสารนิเทศ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์

1.5. วัตถุประสงค์ของห้องสมุด

1.5.1. 1.เพื่อการศึกษา

1.5.1.1. พัฒนาพลเมืองให้มีความรู้ เฉลียวฉลาด

1.5.1.2. มีความสามารถในการศึกษาด้วยตนเอง

1.5.1.3. เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปประกอบวิชาชีพ

1.5.1.4. มีทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ เช่น หนังสือวิชาการ หนังสือสารคดี หนังสืออ้างอิง

1.5.2. 2.เพื่อความรู้ข่าวสารที่ทันสมัย

1.5.2.1. แหล่งรวบรวมความรู้ ข้อมูล ที่ถูกต้อง ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์

1.5.2.2. พัฒนาคุณภาพชีวิต

1.5.2.3. เพื่อให้ติดตามข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น

1.5.3. 3.เพื่อการค้นคว้าวิจัย

1.5.3.1. เพิ่มความก้าวหน้าทางวิชาการ

1.5.3.2. แหล่งข้อมูลพื้นฐานในการค้นคว้าวิจัย

1.5.3.3. รายงานการวิจัยวิทยานิพนธ์ เพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศทางวิชาการ

1.5.4. 4.เพื่อเพิ่มแรงบรรดาลใจ

1.5.4.1. แรงบันดาลในใจการสร้างสรรค์

1.5.4.2. เกิดความจรรโลงใจ เห็นคุณค่า

1.5.4.3. ยกระดับจิตใจ และพัฒนาตนเอง

1.5.5. 5.เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ

1.5.5.1. ผ่อนคลายความเครียด

1.5.5.2. ความเพลิดเพลิน สบายใจ

1.5.5.3. มีสาระทั้งสารคดีและบันเทิงคดี

1.6. ประเภทของห้องสมุด

1.6.1. ห้องสมุดแห่งชาติ

1.6.1.1. แหล่งรวบรวมและเก็บรักษาหนังสือที่พิมพ์ภายในประเทศ

1.6.1.2. รวบรวมและรักษาวรรณกรรมของชาติ

1.6.1.3. กำหนดเลขมาตราฐานสากลประจำหนังสือ(ISBN) และประจำวารสาร (ISSN)

1.6.1.4. จัดบริการแก่ประชาชนทั่วไป

1.6.2. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย

1.6.2.1. บริการในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา

1.6.2.2. พัฒนาเข้าสู่ระบบห้องสมุดดิจิทัล

1.6.2.3. จัดตั้งศูนย์บริการหรือศูนย์การเรียนรู้

1.6.3. ห้องสมุดโรงเรียน

1.6.3.1. ห้องสมุดโรงเรียนอนุบาล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

1.6.3.2. เพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนและครู

1.6.3.3. ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตร

1.6.4. ห้องสมุดประชาชน

1.6.4.1. เพื่อให้บริการแก่ประชาชน

1.6.4.2. สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต

1.6.4.3. เป็นศูนย์กลางบริการศึกษาระบบการศึกษานอกระบบ

1.6.5. ห้องสมุดเฉพาะ

1.6.5.1. จัดตั้งโดยหน่วยงานที่ห้องสมุดสังกัดอยู่

1.6.5.2. ให้บริการผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกในหน่วยงานนั้นๆ

1.6.5.3. ส่งเสริมความรู้ สติปัญญาของบุคลากรในหน่วยงาน

1.6.5.4. เช่น ห้องสมุดธนาคาร ห้องสมุดส่วนราชการ ฯ

1.7. กิจกรรมของห้องสมุด

1.7.1. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

1.7.2. กิจกรรมส่งเสริมความรู้เรื่องห้องสมุด

1.7.3. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน

1.7.4. กิจกรรมส่งเสริมความรู้ทั่วไป

1.7.5. กิจกรรมส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

1.8. ประวัติของห้องสมุด

1.8.1. ประวัติและพัฒนาการห้องสมุดในต่างประเทศ

1.8.1.1. สมัยโบราณ

1.8.1.1.1. อารยธรรมสุเมเรียน

1.8.1.1.2. อารยธรรมบาบิโลน

1.8.1.1.3. อารยธรรมอัสซีเรียน

1.8.1.1.4. อารยธรรมอียิปต์

1.8.1.1.5. อารยธรรมกรีก

1.8.1.1.6. อารยธรรมโรมัน

1.8.1.2. สมัยกลาง

1.8.1.2.1. ยุคมืด : ภัยสงคราม ไข้ทรพิษระบาด

1.8.1.2.2. ห้องสมุดตามเมืองใหญ่

1.8.1.2.3. ใช้หนังสัตว์ กระดาษปาปิรุสเป็นวัสดุในการบันทึก

1.8.1.3. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

1.8.1.3.1. ศตวรรษที่ 15

1.8.1.3.2. ศตวรรษที่ 16

1.8.1.3.3. ศตวรรษที่ 17

1.8.1.3.4. ศตวรรษที่ 18

1.8.1.3.5. ศตวรรษที่ 19

1.8.1.4. สมัยใหม่

1.8.1.4.1. ศตวรรษที่ 20

1.8.1.4.2. การเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย

1.8.1.4.3. วัสดุไม่ตีพิมพ์ ประเภทโสตทัศนูปกรณ์

1.8.1.4.4. นำเทคโนโลยีเข้ามาในห้องสมุด

1.8.1.4.5. พระราชบัญญัติ

1.8.2. ประวัติและพัฒนาการห้องสมุดในประเทศไทย

1.8.2.1. สมัยสุโขทัย

1.8.2.1.1. พ่อขุนรามคำแหง ทรงประดิษฐ์อักษรไทย

1.8.2.1.2. จารึกเรื่องราวต่างๆลงบนแผ่นหิน

1.8.2.1.3. หลักศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง ถือเป็นหนังสือเล่มแรกของไทย

1.8.2.2. สมัยกรุงศรีอยุธยา

1.8.2.2.1. สร้างหอหลวง : เพื่อเก็บหนังสือราชการ

1.8.2.2.2. หลังจากนั้น หอไตรและหอหลวงถูกพม่าทำลาย ได้รับความเสียหาย

1.8.2.3. สมัยธนบุรี

1.8.2.3.1. พระเจ้าตากสินได้โปรดขอยืมพระไตรปิฏกจากเมืองนครศรีธรรมราช

1.8.2.3.2. สร้างหอพระไตรปิฏก หรือ หอหลวง

1.8.2.4. สมัยรัตนโกสินทร์

1.8.2.4.1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

1.8.2.4.2. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

1.8.2.4.3. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

1.8.2.4.4. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

1.8.2.4.5. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

1.8.2.5. ปัจจุบัน

1.8.2.5.1. ห้องสมุดเพื่อการศึกษา ค้นคว้าและพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

2. ทรัพยากรสารสนเทศ

2.1. ความหมายของทรัพยากรสารสนเทศ

2.1.1. วัสดุที่ใช้บันทึกข้อมูล ข่าวสารเท็จจริง ตลอดจนความรู้ซึ่งได้มีการบันทึกไว้ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์ สื่อโสตภัณฑ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยได้รวบรวมบันทึกไว้ในสมุด ศูนย์ข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ เพื่อประกอบการวินิจฉัย การวางแผน เพื่อการศึกษาวิจัย และพัฒนาอาชีพ ของบุคคลทุกวงการ

2.2. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ

2.2.1. วัสดุตีพิมพ์

2.2.1.1. หนังสือ

2.2.1.1.1. หนังสือสารคดี

2.2.1.1.2. หนังสือบันเทิงคดี

2.2.1.2. วารสาร

2.2.1.3. นิตยสาร

2.2.1.4. หนังสือพิมพ์

2.2.1.5. จุลสาร

2.2.1.5.1. สิ่งพิมพ์ที่รูปเล่มกะทัดรัด

2.2.1.5.2. มีความหนาไม่เกิน 60 หน้า

2.2.1.5.3. จัดพิมพ์พิมพ์ขึ้นโดยหน่วยงานต่างๆ

2.2.1.5.4. มุ่งเสนอความรู้เฉพาะเรื่องหรือสาขาต่างๆ

2.2.1.6. กฤตภาค

2.2.1.6.1. หมายถึง ข่าวสาร ความรู รูปภาพ หรือบทความต่างๆ

2.2.1.6.2. โดยตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ

2.2.1.6.3. นำมาผนึกไว้บนกระดาษโดยระบุแหล่งที่มา

2.2.1.6.4. สำหรับการจัดเก็บและการใช้บริการ

2.2.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์

2.2.2.1. โสตทัศนวัสดุ

2.2.2.1.1. แผ่นเสียง,เทปบันทึกเสียง

2.2.2.1.2. ภาพยนตร์

2.2.2.1.3. เทปวิดีทัศน์,แผ่นวิดีทัศน์

2.2.2.1.4. รูปภาพ

2.2.2.1.5. แผนที่,ลูกโลก

2.2.2.1.6. แผนภูมิ

2.2.2.1.7. ภาพเลื่อน,ภาพนิ่ง

2.2.2.1.8. แผ่นโปร่งใส

2.2.2.1.9. หุ่นจำลอง

2.2.2.1.10. ของจริง,ของตัวอย่าง

2.2.2.2. วัสดุย่อส่วน

2.2.2.2.1. ไมโครฟิล์ม

2.2.2.2.2. ไมโครฟิช

2.2.2.3. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์

2.2.2.3.1. ซีดี-รอม CD-ROM

2.2.2.3.2. แผ่นวิดีทัศน์ระบบดิจิตอล DVD

2.2.2.3.3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E-Books

2.2.2.3.4. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ E- Journals

2.2.2.3.5. หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ E-Newspapers

2.2.2.3.6. ฐานข้อมูล Database

2.2.2.3.7. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ E-mail

2.2.2.3.8. เคเบิลทีวี Cable TV

2.2.2.3.9. อินเตอร์เน็ต Internet

2.3. ความสำคัญของสารสนเทศ

2.3.1. การดำเนินชีวิตประจำวัน

2.3.1.1. ช่วนในการตัดสินใจ

2.3.1.2. ช่วยให้มีทักษะในการแก้ปัญหา ตอบคำถามที่ประสิทธิภาพ และก่อให้ประสิทธิผล

2.3.1.3. ช่วยให้ทีทักษะด้านเทคโนโลยี

2.3.1.4. ช่วยให้รู้จักการวิเคราะห์และประเมินค่าสารสนเทศ

2.3.2. สังคม

2.3.2.1. เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

2.3.2.2. เพื่อพัฒนาประเทศโดยส่วนรวม

2.3.2.3. เพื่อความก้าวหน้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

2.3.2.4. มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม

2.4. บทบาทของสารสนเทศ

2.4.1. ด้านการค้า

2.4.1.1. การดำเนินการค้าขึ้นอยู่กับการเผยแพร่สารสนเทศ

2.4.1.2. ทำให้ผู้ซื้อตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง

2.4.1.3. เป็นประโยชน์ต่อการค้า ผลักดันให้มี "โครงการ One Tambon One Product"

2.4.2. ด้านการศึกษา

2.4.2.1. สนับสนุนให้จัดตั้งห้องสมุดและศูนย์กลางให้บริการสารสนเทศ

2.4.2.2. เพื่อประกอบการเรียนการสอน ส่งเสริมระบบการศึกษา

2.4.2.3. มีการแปลหนังสือ

2.4.3. ด้านการเมือง

2.4.3.1. ส่งเสริมระบอบการเมืองภายในประเทศ

2.4.3.2. ให้ประชาชนเกิดความเข้าใจใรระบบการปกครอง

2.4.3.3. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงนโยบาย ระบบปฎิบัติงานของราชการ

2.4.3.4. จัดตั้งศูนย์ข้อมูลของจังหวัด

2.4.4. ด้านการอุตสาหกรรม

2.4.4.1. ผู้ประกอบการลงทุน จำเป็นต้องศึกษาให้ลึกซึ้ง

2.4.4.2. รัฐบาลมีบทบาทในการส่งเสริมให้นักธุรกิจได้รับสารสนเทศ

2.4.4.3. การถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม

2.4.5. ด้านวัฒนธรรม

2.4.5.1. มีส่วนสำคัญในการรักษาเอกลักษณ์ของชาติ ส่งผลให้เกิดความสามัคคีกัน

2.4.5.2. ช่วยพัฒนาจิตใจ ให้มีส่วนเกื้อกูล

2.4.5.3. เป็นหน้าที่ของคนรุ่นหลังที่ต้องช่วยกันถ่ายทอดและสืบสานวัฒนธรรม

2.5. ประโยชน์ของสารสนเทศ

2.5.1. ลดอัตราการตายจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ

2.5.2. ช่วยให้ประชาชนเป็นผู้บริโภคอย่างฉลาด

2.5.3. พัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน

2.5.4. ลดความผิดพลาดในการตัดสินใจ

2.5.5. ส่งเสริมการศึกษา ค้นคว้า และลดค่าใช้จ่ายจากการทำวิจัยซำ้ซ้อน

2.5.6. สามารแก้ไขปัญหาได้ดีขึ้น

2.5.7. เป็นองค์ประกอบในการสร้างองค์ความรู้

2.5.8. เป็นองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาประเทศ

2.6. คุณค่าของสารสนเทศ

2.6.1. สารสนเทศจะมีคุณค่าขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 ประการ 1.เวลา (Time) : รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และความต้องการในการใช้งาน 2.ความถูกต้อง (Accuracy) : ต้องชัดเจน ปราศจากความคลุมเคลือ ความผิดพลาด สามารถพิสูจน์ได้ ไม่มีการแต่งเติม จนส่งผลต่อความรู้สึกของผู้ใช้ 3.ความครบถ้วน (Completeness) : ครบถ้วน ไม่ขาดหาย และไม่ถูกบิดเบือนจากความจริง มีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการในการใช้งาน 4.ความต่อเนื่อง (Continuation) : มีลักษณะการสะสมของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เป็นเนื้อหาเดียวกัน

2.6.2. รูปแบบสารสนเทศ : หนังสือ วารสาร สื่อสารสนเทศด้านสื่อมวลชน

2.6.3. “คุณสมบัติที่สาคัญในการวัดค่าสารสนเทศ” 1. สามารถเข้าถึงได้(Accessibility):ความสะดวกในการเข้าถึง 2. ความครบถ้วน (Completeness) : เนื้อหาสมบูรณ์ พิจารณาด้านคุณภาพ 3. ความถูกต้องเที่ยงตรง (Accuracy) : ต้องไม่มีข้อผิดพลาด ด้านการบันทึกข้อมูล การคานวณ 4. ความเหมาะสม(Appropriateness):ข้อมูล/สารสนเทศตรงต่อความต้องการของผู้ใช้ 5. ความทันเวลา (Timeline) : สั้นและมีความรวดเร็วในการประมวลผล เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับทันเวลา 6. ความชัดเจน (Clarity) หมายถึง สารสนเทศต้องชัดเจน ไม่กากวม 7. ความยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง ต้องให้ประโยชน์แก่บุคคลจานวนมากอย่างกว้างขวาง 8. ความสามารถในการพิสูจน์ได้ (Verifiability) หมายถึง ต้องสามารถพิสูจน์ ตรวจสอบได้ว่าจริง 9. ความซ้าซ้อน (Redundancy) หมายถึง มีความซ้าซ้อน มีมากเกินความจาเป็นหรือไม่

2.7. พัฒนาการของสารสนเทศ

2.7.1. คลื่นยุคที่1: ยุควัติทางการเกษตรกรรม

2.7.1.1. คนในสังคมสารสนเทศนี้มีความเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ

2.7.1.2. ปฎิบัติตามประเพณี

2.7.1.3. ไม่มีโอกาสเห็นสังคมอื่นๆที่แตกต่างขอกจากที่ตนอาศัย

2.7.1.4. รูปแบบสารสนเทศ : ภาษาพูด ภาษาเขียน

2.7.2. คลื่นยุคที่2: ยุควัติทางอุตสาหกรรม

2.7.2.1. บทบาทต่อสังคม : มีการจัดทำหนังสือพิมพ์เพื่อสังคม

2.7.2.2. การพัฒนาสื่อสารสนเทศ : ด้านวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์

2.7.2.3. ลดอุปสรรคในการเผยแพร่ : ระยะทาง เวลา ภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี

2.7.3. คลื่นยุคที่3 : ยุคเทคโนโลยีระดับสูง

2.7.3.1. ยุคแห่งสังคมข่าวสาร : มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

2.7.3.2. ยุคแห่งอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ : เกิดสื่อใหม่ๆทำให้สภาพสังคมคล้ายกันทุกที่

2.7.3.3. ไม่มีปัญหาใดในการรับส่งสารสนเทศซึ่งกันและกัน

2.7.3.4. มีการปรับปรุงพัฒนาระบบโทรคมนาคม ทำให้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

3. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

3.1. ข้อมูลสารสนเทศสู่การพัฒนาความรู้

3.1.1. สังคมเกษตรกรรม

3.1.1.1. ยุคการแข่งขันกับธรรมชาติ

3.1.1.2. ยุคนี้มนุษย์รู้จักการเกษตร

3.1.1.3. •ใช้ประโยชน์จากที่ดิน ท้องทะเล ธรรมชาติ •เพื่อการดำรงชีวิตทั้งการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ จับสัตว์น้ำใช้ประโยชน์จากที่ดิน ท้องทะเล ธรรมชาติ

3.1.2. สังคมอุตสาหกรรม

3.1.2.1. ยุคการแข่งขันกับธรรมชาติที่มนุษย์ได้เข้ามาไปปรุงแต่ง

3.1.2.2. ยุคนี้มนุษย์รู้จักการนำวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็นผลผลิตทางอุตสาหกรรม

3.1.2.2.1. •นำพลังงานมาใช้ในการแปรรูปผลผลิต •แปรรูปเป็นสิ่งประดิษฐ์ •แสดงถึงความพยายามที่เข้ามามีอิทธิพลเหนือธรรมชาติ

3.1.3. สังคมข่าวสาร

3.1.3.1. ยุคการแข่งขันระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง

3.1.3.2. ยุคนี้มนุษย์ตระหนักถึงคุณค่าของข่าวสาร

3.1.3.2.1. •นำมาพัฒนาการเกษตร อุตสาหกรรม กิจกรรมด้านต่างๆ •พัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ มีพื้นฐานมาจากข่าวสาร •“ข่าวสาร คือ อานาจ”

3.1.4. ยุคเศรษฐกิจแห่งปัญญาและการเรียนรู้

3.1.4.1. Knowledge-Based Economy

3.1.4.2. ยุคนี้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นการใช้ความรู้เป็นหลัก

3.1.4.2.1. •ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ = ปัจจัยทุน •การปฏิวัติทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Revolution) •การแพร่กระจายของการใช้อินเตอร์เน็ต (Internet Diffusion)

3.1.4.3. ส่งผลกระทบต่อการดำเนินเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของคนในสังคม

3.1.4.4. ประเทศต่างๆปรับเปลี่ยนนโยบายไปสู่สภาพ "เศรษฐกิจใหม่"

3.1.4.4.1. •มุ่งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) •สื่อสารกันอย่างไม่มีข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ •การค้าแบบไร้พรมแดน (Globalization)

3.1.4.5. ความรู้ที่มีจำนวนมากขึ้นผ่านประสบการณ์ที่เราสั่งสม

3.2. กระบวนการจัดการความรู้

3.2.1. การแสวงหาความรู้

3.2.2. การสร้าง

3.2.3. การจัดเก็บ

3.2.4. การถ่ายทอด

3.2.5. การนำความรู้ไปใช้งาน

3.3. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้

3.3.1. เทคโนโลยีการสื่อสาร

3.3.1.1. •ช่วยให้บุคคลเข้าถึงความรู้ต่างๆได้สะดวกขึ้น •สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ •ค้นหาข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ได้ผ่านทางเครือข่ายอินทราเนต็ เอ็กซ์ทราเน็ต หรืออินเทอร์เน็ต

3.3.2. เทคโนโลยีการทำงานร่วมกัน

3.3.2.1. •สนับสนุนการทางานร่วมกัน •สามารถประสานการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ •ลดอุปสรรคเรื่องของระยะทาง ระยะเวลา •เช่น โปรแกรม Groupware, ระบบ Screen Sharing

3.3.3. เทคโนโลยีการจัดเก็บ

3.3.3.1. •ช่วยในการจัดเก็บและจัดการความรู้ต่างๆ •นำมาจัดการความรู้ เพื่อให้จัดเก็บได้มากที่สุด

3.3.4. สังคมเครือข่าย

3.3.4.1. •เครื่องมือเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว •มีการปรับเปลี่ยนพัฒนาตามพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภค •ระบบสังคมโลกออนไลน์กำลังเป็นที่นิยมอย่างสูง

3.4. บทบาทที่สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

3.4.1. การศึกษา

3.4.2. การดำรงชีวิตประจำวัน

3.4.3. การดำเนินธุรกิจ

3.4.4. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข

3.4.5. ด้านการเกษตร

3.4.6. ด้านความมั่นคง

3.4.7. ด้านการคมนาคม

3.4.8. ด้านวิศวกรรม

3.4.9. ด้านสถาปัตยกรรม

3.4.10. ด้านพาณิชย์

3.4.11. ด้านอุตสาหกรรม

3.4.12. เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้ •ช่วยในการรวบรวมองค์ความรู้ที่กระจัดกระจาย มีอยู่ในบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็น ระบบ •เพื่อให้เข้าถึงความรู้ได้ง่ายขึ้น พัฒนาตนเองให้เปน็ ผู้รู้ และปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ •ช่วยให้การแลกเปลี่ยนความรู้สามารถทำได้ง่ายขึ้น •ช่วยลดอุปสรรคในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ •เป็นเครื่องมือ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมาย : งาน พัฒนาคน พัฒนาองค์กร

3.4.13. การประยุกต์ใช้กับงานด้านการศึกษา •การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CIA) •การประชุมทางไกล (Video Conference) •เครือข่ายการศึกษา (World Wide Web : WWW) •การใช้งานห้องสมุด •การใช้ในงานประจาและงานบริหาร

3.5. ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.5.1. ประโยชน์ของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา •ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น •ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม •ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้ สนุกสนาน •ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ •ช่วยลดเวลาในการสอน •ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

3.5.2. ประโยชน์ของเทคโนโลยีการศึกษา "สำหรับผู้เรียน" •ทำให้ผู้เรียนมีโอกาสใช้ความสามารถของตนเอง ในการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ •ผู้เรียนมีโอกาสตัดสินใจเลือกเรียนตามช่องทางที่เหมาะสมกับความสามารถ •ทำให้กระบวนการเรียนรู้ง่ายขึ้น •ผู้เรียนมีอิสระในการเลือก •ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ •ทำให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น • ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้มากกว่าเดิมในเวลาเททากัน •ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาที่กว้างและลึกซึ้งกว่าเดิม •ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักเสาะหาแหล่งการเรียนรู้ • ฝึกให้ผู้เรียน คิดเป็น และสามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

3.6. Applications & Website

3.6.1. Education

3.6.1.1. •Mindmeiester •Anatomy Atlas •Ted Talk •Evernote

3.6.1.2. Life Style

3.6.1.2.1. •Pinterest •SCB Banking •Grab •Instagram

3.6.1.2.2. Massive Open Online Course