การสื่อสารในบริบทพหุวัฒนธรรมยุคดิจิทัล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การสื่อสารในบริบทพหุวัฒนธรรมยุคดิจิทัล by Mind Map: การสื่อสารในบริบทพหุวัฒนธรรมยุคดิจิทัล

1. เครือข่ายทางสังคมทีมีการโต้ตอบผ่านสื่อ

2. พหุวัฒนธรรม (Multicultural)

2.1. พหุวัฒนธรรม

2.1.1. การรวมกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางด้านภาษา ศาสนา วัฒนธรรม มาผสมกลมกลืนกัน

2.2. สิ่งที่ควรคำนึง

2.2.1. สาระเนื้อหาที่เหมาะสม

2.2.2. วิธีการที่เหมาะสม

2.3. SERVE

2.3.1. Simple design

2.3.1.1. การออกแบบที่เรียบง่าย น่าสนใจ

2.3.2. Easy to use

2.3.2.1. การใช้งานง่าย

2.3.3. Reliable of content

2.3.3.1. ความน่าเชื่อถือ ความถูกต้องของเนื้อหา

2.3.4. Value of all

2.3.4.1. ความมีคุณค่าของเนื้อหา

2.3.5. Effectivenes

2.3.5.1. ความมีประสิทธิผลตามวัตถุประสงค์

3. ชุมชนเสมือน (Virtal communities)

3.1. ชุมชนเสมือนหรือประชาคมเสมือน

3.2. ลักษณะชุมชนเสมือน

3.2.1. ชุมชนที่มีการสนับสนุนกัน (Supportive communities)

3.2.1.1. การโยงคนที่สนใจเรื่องเดียวกันมารวมกัน

3.2.2. ชุมชนที่ปลอดภัย (Safe community)

3.2.2.1. เฟซบุ๊คมีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

3.2.2.1.1. การป้องกันอันตราย (Prevent harm)

3.2.2.1.2. ระบบตามหาเด็กหาย (Help during)

3.2.2.1.3. การฟื้นฟูหลังวิกฤติ (Rebuild after crisis)

3.2.3. ชุมชนที่ได้รับข่าวสาร (Informed community)

3.2.3.1. การปิดกั้นมุมมองที่แตกต่าง

3.2.3.2. ปัญหาของข่าวปลอม

3.2.4. ชุมชนที่มีการร่วมมือทางการเมือง (Civically-engaged community)

3.2.4.1. เน้นการสนับสนุนการเลือกตั้ง

3.2.5. ชุมชนที่ไม่ยอมรับความหลากหลายและแตกต่าง (Inclusive community)

3.2.5.1. ชุมชนของเฟซบุ๊ค

3.2.5.2. วัฒนธรรมเดียวกันแต่มีความคิดเห็นต่างกัน

3.2.5.3. แม้จะมีการตรวจสอบเนื้อหาแต่ยังพบข้อผิดพลาดเมื่อเวลาผ่านไป

3.2.5.4. การสร้างมาตรฐานชุมชนที่สะท้อนถึงคุณค่าโดยรวมเกี่ยวกับสืิ่งที่ควรและไม่ควรได้รับอนุญาต

3.2.5.4.1. เรื่องความรุนแรง

4. วัฒนธรรมดิจิทัล (Digital culture)

4.1. วัฒนธรรมดิจิทัล

4.1.1. ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับเทคโนโลยี

4.2. ความพร้อมขององค์กรเกี่ยวกับวัฒนธรรมดิจิทัล

4.2.1. ความโปร่งใส (Transparency)

4.2.2. การแบ่งปัน (Sharing)

4.2.3. การทำงานร่วมกัน (Collaboration)

4.2.4. การขับเคลื่อนด้วยข้อมูล (Data driven)

4.2.5. ความคล่องตัว (Agility)

4.3. แนวทางการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร

4.3.1. การปรับวิสัยทัศน์และกระบวนการคิด

4.3.2. การเปลี่ยนการทำงานเป็นระบบดิจิทัล

4.3.3. กาเสริมทักษะดิจิทัล

5. กรณีศึกษาการสื่อสารในบริบทพหุวัฒนธรรมยุคดิจิทัล

5.1. Blog

5.1.1. เว็บไซต์ที่มีหลักการคล้ายกับการเขียนบันทึกประจำวัน

5.1.1.1. ข้อความ

5.1.1.2. ภาพ

5.1.1.3. ลิงค์

5.1.1.4. สื่อต่าง ๆ

5.2. Wiki

5.2.1. เว็บไซต์ในรูปแบบของสาราณุกรมที่อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเข้าร่วมกันเพิ่ม และ แก้ไขข้อมูลได้

5.2.1.1. การอ่าน

5.2.1.2. การเขียน

5.3. YouTube

5.3.1. เว็บไซต์ที่ให้บริการแลกเปลี่ยนภาพวิดีโอระหว่างผู้ใช้ฟรี ที่เป็นได้ทั้งผู้ชมและผู้สร้าง

5.3.1.1. การดู

5.3.1.2. การฟัง

5.4. Facebook

5.4.1. เว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์

5.4.1.1. ข้อความ

5.4.1.2. ภาพ

5.4.1.3. เสียง

5.4.1.4. วิดีโอ

5.5. Digg and Delicious

5.5.1. เว็บไซต์จัดหมวดหมู่เนื้อหาบนเว็บในลักษณะคั่นหน้าออนไลน์

5.5.1.1. การรวบรวม

5.5.1.2. การจัดหมวดหมู่

5.5.1.3. การเชื่อมโยง

5.6. Podcast

5.6.1. ชุดเสียงและวิดีโอในรูปแบบดิจิทัล

5.6.1.1. การบันทึก

5.6.1.2. การดู

5.6.1.3. การฟัง

5.6.1.4. การแบ่งปัน

5.6.1.5. การแลกเปลี่ยน

5.7. Second life

5.7.1. โลกสมมติเสมือนจริง (Virtual world)

5.7.1.1. การอ่าน

5.7.1.2. การดู

5.7.1.3. การฟัง

5.7.1.4. การลงมือทำ

5.7.1.5. การแบ่งปัน

5.7.1.6. การอภิปราย