ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (Foundation of Research)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (Foundation of Research) by Mind Map: ความรู้พื้นฐานของการวิจัย  (Foundation of Research)

1. แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

1.1. กฎเหตุและผลของธรรมชาติ (Deterministic Law of Nature)

1.1.1. ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหา สาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ

1.2. กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ (Systematic Law of Nature)

1.2.1. ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผล ของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของ ตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน

1.3. กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ (Associative Law of Nature)

1.3.1. การเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกันนั้น จะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุ และตัวแปรผลที่แตกต่างกัน

1.4. กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ (Principle Component of Nature)

1.4.1. าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปร อื่นๆ ที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ ๆ

1.5. กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ (Probabilistic Law of Nature)

1.5.1. ปรากฏการณ์ ใด ๆ นั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้น ตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง

2. คุณลักษณะของการวิจัย

2.1. เครื่องมือในการแสวงหาความรู้

2.2. ทำได้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจน

2.3. มีการกำหนดจุดมุ่งหมาย ของการวิจัย

2.4. ใช้อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ

3. ธรรมชาติของการวิจัย

3.1. เป็นกระบวนการเชิงประจักษ์

3.1.1. ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้

3.2. เป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ

3.2.1. ขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์

3.3. มีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

3.3.1. บรรยาย อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

3.4. มีความเที่ยงตรง

3.5. มีความเชื่อมั่น

3.5.1. ทำกี่ครั้งก็ได้ผลคล้ายเดิม

3.6. มีเหตุผล

3.7. เป็นการแก้ปัญหา

3.7.1. ปัญหาที่เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา(ตัวแปรตาม) กับวิธีการแก้ปัญหา(ตัวแปรต้น)

3.8. มีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่

3.9. มีวิธีการที่หลากหลาย

3.10. ใช้ศักยภาพของผู้วิจัย

4. ขั้นตอนในการวิจัย

4.1. 1เลือกหัวข้อปัญหา

4.2. 2การกำหนดขอบเขตของปัญหา

4.3. 3การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

4.4. 4การกำหนดสมมุติฐาน

4.5. 5การเขียนเค้าโครงการวิจัย

4.5.1. 1 ชื่องานวิจัย 2 ภูมิหลังหรือที่มาของปัญหา 3 วัตถุประสงค์ 4 ขอบเขตของการวิจัย 5 ตัวแปรต่าง ๆ ที่วิจัย 6 คำนิยามศัพท์เฉพาะ (ในกรณีที่จำเป็น) 7 สมมุติฐาน (ถ้ามี) 8 วิธีดำเนินการวิจัย 9 รูปแบบของงานวิจัย 10 การสุ่มตัวอย่าง 11 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 12 การวิเคราะห์ข้อมูล 13 แผนการทำงาน 14 งบประมาณ

4.6. 6การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล

4.7. 7ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

4.7.1. การจัดกระทำข้อมูล

4.7.1.1. Input

4.7.1.2. Processing

4.7.1.3. Output

4.7.1.4. การสรุปผลการวิจัย และเขียนรายงาน

4.7.1.4.1. บทนำ

4.7.1.4.2. การตรวจสอบเอกสาร

4.7.1.4.3. วิธีการดำเนินการวิจัย

4.7.1.4.4. ผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

5. ความหมายของการวิจัย

5.1. กระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ

5.2. ค้นคว้าข้อเท็จจริง

5.3. นำไปใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏ

6. จุดมุ่งหมายของการวิจัย

6.1. มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีความเป็นเหตุและเป็นผลซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน

6.2. เป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หรือเป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อที่นำผลสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากร

6.3. เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล โดยที่ปัญหาในบางปัญหาไม่สามารถทำการวิจัยได้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้

7. ประเภทของการวิจัย

7.1. ประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย

7.1.1. การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์

7.1.2. การวิจัยการนำไปใช้

7.2. ตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล

7.2.1. การวิจัยเชิงปริมาณ

7.2.2. การวิจัยเชิงคุณภาพ

7.3. ตามระเบียบวิธีวิจัย

7.3.1. การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์

7.3.2. การวิจัยเชิงบรรยาย

7.3.2.1. การวิจัยเชิงสำรวจ

7.3.2.2. การศึกษาความสัมพันธ์

7.3.2.3. การศึกษาพัฒนาการ

7.3.2.3.1. การศึกษาความเจริญงอกงาม

7.3.2.3.2. การศึกษาแนวโน้ม

7.4. ตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์

7.4.1. การวิจัยทางวิทยาศาสตร

7.4.2. การวิจัยทางสังคมศาสตร

7.5. ตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย

7.5.1. การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น

7.5.1.1. ประหยัดค่าใช้จ่าย แต่อาจจะไม่เห็น กระบวนการเปลี่ยนแปลงของ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น

7.5.2. การวิจัยแบบต่อเนื่อง

7.5.2.1. ได้เห็นกระบวนการการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น แต่ผู้วิจัยจะต้อง ใช้ค่าใช้จ่าย/เวลาที่ค่อนข้างสูง

7.6. ตามเป้าหมายหลักของการวิจัย

7.6.1. การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร

7.6.2. การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

7.6.3. การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร

7.7. ตามการจัดกระทำ

7.7.1. การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น

7.7.2. การวิจัยกึ่งทดลอง

7.7.3. การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง

8. จรรยาบรรณของนักวิจัย

8.1. ซื่อสัตย์และมีคุณธรรม

8.2. ตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย

8.3. มีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย

8.4. มีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย

8.5. เคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย

8.6. มีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติ

8.7. นำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ

8.8. เคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น

8.9. มีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ เพื่อความเจริญและประโยชน์สุขของ สังคมและมวลมนุษยชาติ