ตำบลจัดการสุขภาพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ตำบลจัดการสุขภาพ by Mind Map: ตำบลจัดการสุขภาพ

1. 5 กลุ่มวัย

1.1. วัยรุ่น

1.1.1. การบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์

1.1.2. ชมรมแก๊งค์ลูกหมู

1.1.3. เยาวชนศีลธรรม แก้ไขปัญหายาเวพติด

1.1.4. การยุติความรุนแรงในเด็กและเยาวชน

1.2. เด็กและเยาวชน

1.2.1. การลดความรุนแรง

1.2.2. ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และการตัดสินใจผ่านการเขียน CODE

1.2.3. จัดกิจกรรมเทศนาธรรม

1.3. สตรี เด็กปฐมวัย

1.3.1. ร้านค้าปลอดนมชง

1.3.2. โรงเรียนพ่อแม่

1.3.3. ตำบลนมแม่

1.4. วัยแรงงาน

1.4.1. ชมรมแอโรบิคยั่งยืน แข่งขันกันทางโซเซียล

1.4.2. งดจำหน่ายเหล้า เมื่อเข้าสู่ช่วงประเพณี

1.4.3. ออกกำลังกายปั่นรักษ์โลก

1.4.4. บูรณาการประเพณีกับการแก้ไขปัญหาสุขภาพ

1.4.5. ค้นหากลุ่มเสี่ยง NCD

1.5. ผู้สูงอายุ/พิการ

1.5.1. ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

1.5.1.1. การนำข้อมูลมาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา

1.5.1.1.1. จัดอัตรากำลัง

1.5.1.1.2. พัฒนาศักยภาพ

1.5.1.1.3. ทบทวนเคสร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ

1.5.1.2. สารสนเทศสำหรับผู้ป่วยภาวะวิกฤต

1.5.1.3. ฐานข้อมูลผู้ป่วยเรื้อรัง

1.5.1.4. การพัฒนาแอพพลิเคชั่น

1.5.2. ศูนย์การบริหารด้านผู้สูงอายุ

1.5.2.1. กองทุนช่วยเหลือผู้ป่วย ติดเตียง เรื้อรัง

1.5.2.2. ชุมรมผู้สูงอายุดีเด่น

1.5.2.3. ปราชญชาวบ้าน

1.5.2.4. ผู้สูงอายุดีเด่น

1.5.2.5. การช่วยเหลือสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้พิการ ยากไร้ ติดเตียง

1.5.2.6. กองทุนเตียงผู้ป่วย

1.5.2.7. การช่วยเหลือผู้พิการ

2. ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ พชต. สู่ พชอ.

2.1. การจัดการสิ่งแวดล้อม

2.1.1. การจัดการขยะ

2.1.1.1. ชุมชน

2.1.1.1.1. สืบสานประเพณีไม่มี FOAM

2.1.1.1.2. คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม

2.1.1.1.3. พายเรือขวดน้ำพลาสติก

2.1.1.2. ครัวเรือน

2.1.1.2.1. คัดแยกขยะในครัวเรือน

2.1.1.3. หน่วยงาน/องค์กร

2.1.1.3.1. นวัตกรรมการจัดการขยะโรงเรียน

2.1.1.3.2. อุทยานขยะ

2.1.1.3.3. นโยบายถนนไร้ถังขยะ

2.1.1.3.4. นโยบาย งดรับขยะอินทรีย์ และสนับสนุนการทำถังขยะอินทรีย์ในครัวเรือน

2.1.1.3.5. ปิดป้ายประชาสัมพันธ์ รณรงค์การจัดการขยะต้นทาง

2.1.1.3.6. นโยบายลดจำนวนวันในการจัดเก็บ

2.1.2. การจัดการโรคติดต่อ/อุบัติใหม่

2.1.2.1. หมู่บ้านนำร่อง การจัดกิจกรรมช่วงโควิด

2.1.2.2. การตรวจสอบลูกน้ำยุงลายตามหน่วยงาน

2.1.2.3. แอพกับข้าวกับปลา

2.1.2.4. พม่าช่วยโควิด

2.1.2.5. รูปแบบการควบคุมโรคแนวใหม่

2.1.2.5.1. เน้นการจัดการสิ่งแวดล้อม

2.1.2.5.2. ลดการใช้สารเคมี

2.1.2.5.3. เน้นการใช้ชีวภาพ

2.1.2.6. สุขศึกษาออนไลน์ ยุคโควิด

2.1.3. การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน พื้นที่สาธารณะ

2.1.3.1. พม่าเก็บขยะ

2.1.3.2. กิจกรรมบำเพ็ญสาธารณประโยชน์

2.1.4. การจัดการอาหาร/น้ำปลอดภัย

2.1.4.1. อาหาร

2.1.4.1.1. ถวายภัตตาหารลดโรค

2.1.4.1.2. ตลาดสดได้มาตรฐาน

2.1.4.1.3. ร้านค้าโอเค

2.1.4.2. คุณภาพน้ำ

2.1.4.2.1. การบริหารจัดการคุณภาพน้ำแบบมีส่วนร่วม

2.2. ความปลอดภัยทางท้องถนน

2.2.1. แห่ไม้ค้ำสะหรีแบบ DNA

2.2.2. โครงการ 10-20-30-40

2.2.3. การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

2.2.4. การวิเคราะห์จุดเสี่ยงและแก้ไขปัญหาทั้งในระดับ หมู่บ้าน ชุมชนและตำบล

2.2.5. การดูแลพื้นที่เสี่ยงตามช่วงเวลา

2.2.6. การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันต่างๆ

2.2.7. การตั้งด่าชุมชน ดูแลความปลอดภัยในช่วงเทศกาล

2.2.8. ต้นแบบการลดอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลด้วย2STOP MODEL

3. การบริหารจัดการ

3.1. P การวางแผน

3.1.1. การกำหนดรูปแบบ แผนงานในการดำเนินงาน ผ่านคณะกรรมการ พชต. ภายใต้การขับเคลื่อน พชอ.

3.2. O การจัดการ

3.2.1. 1.ชง

3.2.1.1. ข้อมูล

3.2.1.1.1. เทคโนโลยี

3.2.2. 2.ชวน

3.2.2.1. กรรมการชุมชน

3.2.2.2. อสม.

3.2.2.3. ผู้นำชุมชน

3.2.2.4. หน่วยงาน วัด โรงเรียน ส่วนราชการ

3.2.2.5. ภาคี

3.2.3. 3.แชร์

3.2.3.1. ทรัพยากร

3.2.3.2. ข้อมูล

3.2.3.2.1. แม่จะเราทีวี

3.2.3.3. ความคิด

3.2.3.3.1. เวทีตั้งวงเล่า คนแม่จะเราจับเข่าคุยกัน

3.2.4. 4.เชื่อม

3.2.4.1. การเชื่อมโยงข้อมูล การส่งต่อปัญหา

3.2.4.1.1. กองทุนตำบล

3.2.4.1.2. สถานีอนามัย

3.2.4.1.3. รพ.แม่ระมาด

3.2.5. เชียร์

3.2.5.1. สร้างให้เป็ฯที่ยอมรับ การันตีด้วยรางวัล

3.2.5.2. สร้างให้โด่งดัง

3.2.5.3. สร้่างขวัญและกำลังใจ

3.2.6. เชค

3.2.6.1. การตรวจสอบผลการดำเนินงาน

3.2.6.2. ถอดบทเรียน

3.3. L การนำ ผู้นำ

3.3.1. การนำในเชิงนโยบายจาก บนลงล่าง และ การผลักดันนโยบายจากล่างขึ้นบน

3.4. C การควบคุม

3.4.1. มีการประเมินทั้งภายใน และ ภายนอก

3.4.2. ควบคุมการทำงานภายใต้ พชต. และ พชอ.

3.4.3. กำหนด ประเด็นตัวชี้วัดที่ชัดเจน

4. ผลลัพท์เชิงประจักษ์

4.1. สังคมผู้สูงอายุ

4.1.1. กองทุนช่วยเหลือที่ยั่งยืน ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมภาคประชาชน

4.1.2. ชมรมผู้สูงอายุดีเด่น

4.2. การจัดการสิ่งแวดล้อม

4.3. ความปลอดภัยทางท้องถนน

5. เป้าหมาย

5.1. ประชาชนคือเจ้าของสุขภาพ บริการจัดการภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วม ที่จะส่งผลให้เกิดความยั่งยืน บนพื้นฐานสุขภาพ พอเพียง

6. ทำบันทึกข้อตกลง

7. อุบัติเหตุ

7.1. วัด

7.1.1. ไฟถนน แสงสว่างที่เพียงพอ

7.1.2. ทีมรักษาความปลอดภัย ในช่วงเทศกาล

7.1.3. เน้นการลดน้ำเมา

7.1.4. ทุกคนต้องมีส่วนร่วม

7.1.4.1. ร่วมปฏิบัติพร้อมกัน

7.1.5. มีสติดี

7.1.6. ทุกคนต้องรู้ผลกระทบ มีความรู้ที่ถูกต้อง

7.2. เทศบาล

7.2.1. โครงสร้างประชากร ที่มีผู้สูงอายุเยอะ

7.2.2. เน้นป้องกัน มากกว่าการตั้งรับ

7.3. ทุ่งหลวง

7.3.1. พื้นที่ขนาดใหญ่

7.3.2. พื้นที่เสี่ยงเส้น 105

7.3.2.1. มีสภาพพื้นที่บางโซนที่ยังไม่ปลอดภัย

7.3.3. มีระบบการแพทย์ฉุกเฉินสนับสนุน

7.3.4. ขับเคลื่อนการป้องปราม ด้วย ชรบ.

7.3.5. สนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ์ ( ไฟวับวาบ)

7.4. อำเภอ

7.4.1. แกนนำในการขับเคลื่อน ภายใต้ พชอ.

7.4.2. มีนโยบายสนับสนุน ในการเฝ้าระวัง ช่วงสำคัญ

7.4.3. มีการบูรณาการ จุดตรวจร่วม

7.4.4. ควรให้ความสำคัญกับด่านชุมชน ให้มาก

7.4.5. เสนอ งดต่างด้าวขับขี่ ช่วงสำคัญ

7.5. ตำรวจ

7.5.1. เน้นการบังคับใช้กฎหมาย

7.5.2. เน้นถนนหลัก เส้น 105

7.5.3. เน้น การประชาสัมพันธ์ และนำไปใช้จริง 10-20-30-40

7.5.3.1. หามาตรการในการตักเตือน บทลงโทษ

7.5.3.2. อยากให้ชุมชน ตักเตือนกันเอง ( ธรรมนูญชุมชน )

7.5.4. ประเด็นต่างด้าว

7.5.4.1. เน้นการประชาสัมพันธ์

7.6. รพ.

7.6.1. จำนวนผู้ป่วยยังมาก เป็นลำดับ

7.6.2. พบผู้ประสบเหตุ เป็นต่างด้าว

7.6.2.1. ไม่มีใครรับผิดชอบ

7.6.2.2. ขาดความรับผิดชอบทางกฎหมาย

7.6.3. การแพทย์ฉุกเฉิน ยังสำคัญกับงานอุบัติเหตุ

7.6.4. ใช้ข้อมูลเป็นสื่อสำคัญในการ กระจายข่าวสาร สร้างความตระหนัก

7.6.5. ทีมนำระดับอำเภอให้ความสำคัญ

7.6.5.1. สร้างนโยบาย

7.6.5.2. สร้างแนวทางในการขับเคลื่อนจากบนลงล่าง

7.6.6. ต้องเป็นแบบ และขยายเครือข่ายไปยังพื้นที่ข้างเคียง

7.7. แขวงทางหลวงแม่ระมาด

7.7.1. เน้นปรับปรุงจุดเสี่ยงสำคัญ ตามเส้นทาง 105

7.7.1.1. ซ่อมแซมอุปกรณ์การป้องกัน

7.7.1.2. ไฟฟ้าแสงสว่าง

7.7.1.3. โครงการก่อสร้าง เน้นเสร็จ ก่อนปีใหม่

7.7.1.4. ปรับเปลี่ยน U turn เป็นช่วงๆ

7.7.2. ปัจจัยการเกิดเหตุ

7.7.2.1. ทางกายภาพ

7.7.2.1.1. นโยบายถนนดี/ไฟสว่าง

7.7.2.1.2. ขยายแม่ระมาด-แม่ระมาดน้อย ยาวถึงดอยทีมู

7.7.2.2. ประสิทธิภาพในการขับขี่

7.8. ผญบ.

7.8.1. ด่าน ชรบ.

7.8.1.1. ควรมีเจ้าหน้าที่มาร่วม