บทที่9 ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่9 ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ by Mind Map: บทที่9 ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ

1. กลุ่มงานบริการด้านการรักษาพยาบาล

1.1. 1. ระบบเวชทะเบียนและสถิติ

1.2. 2. ระบบงานผู้ป่วยนอก

1.3. 3. ระบบงานผู้ป่วยใน

1.4. 4. ระบบงานเภสัชกรรม

1.5. 5.ระบบงานพยาธิวิทยา/ ระบบงานขันสูตร (lab)

1.6. 6. ระบบงานรังสีวิทยา

1.7. 7. ระบบงานห้องผ่าตัด

1.8. 8. ระบบงานวิสัญญี

1.9. 9. ระบบงานห้องคลอด

1.10. 10. ระบบงานจิตวิทยา

1.11. 11. ระบบงานทันตกรรม

1.12. 12. ระบบงานสังคมศาสตร์

1.13. 13. ระบบงานเวชกรรมสังคม

1.13.1. งานตรวจสุขภาพประจำปี

1.13.2. งานเฝ้าระวังโรค

1.13.3. งานสำรวจปัจจัยเสียงภายในและภายนอกโรงพยาบาล

1.14. 14. ระบบงานเวชกรรมฟื้นฟู

1.15. 15. ระบบงานโภชนาการ

1.16. 16. ระบบงานหน่วยจ่ายกลาง

1.17. 17. ระบบงานธนาคารโลหิต

1.18. 18. ระบบงานการเงินผู้ป่วย

1.19. 19. ระบบงานส่งเสริมสุขภาพ

1.20. 20. ระบบงานสุขาภิบาลและป้องกันโรค

1.21. 21.ระบบงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

2. กลุ่มงานบริหารและวิชาการ

2.1. 1. ระบบงานธุรการ ครอบคลุมงาน 3 ด้าน ได้เเก่

2.1.1. งานสารบรรณ

2.1.2. งานจองห้องประชุมและรถ

2.1.3. งานอาคารและสถานที่

2.2. 2. ระบบงานพัสดุ ครุภัณฑ์

2.2.1. งานจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์

2.2.2. งานควบคุมวัสดุและครุภัณฑ์

2.2.3. งานจัดจ้าง

2.2.4. งานควบคุมทะเบียนทรัพย์สิน

2.3. 3. งานระบบบัญชีและการเงิน

2.4. 4. ระบบงานการเจ้าหน้าที่

2.5. 5. ระบบงานห้องสมุด

2.6. 6. ระบบงานประชาสัมพันธ์

2.7. 7. ระบบพัฒนาคุณภาพบริการและวิชาการ

2.8. 8. ระบบงานข้อมูลข่าวสารทางการแพทย์

2.9. 9. ระบบการศึกษา

2.10. 10. ระบบงานสำหรับผู้บริหารโรงพยาบาล

3. ห้องบัตร/หน้าห้องตรวจผู้ป่วยนอก(การลงทะบียน)

3.1. สามารถระบุหน่วยงานที่จะทำการตรวจรักษา ระบุชื่อแพทย์ผู้ทำการรักษาจากห้องบัตรหรือระบุหน้าห้องตรวจ กรณีผู้ป่วยมาตรวจตามแพทย์นัดผู้ป่วยสามารถติดต่อหน้าห้องตรวจได้เลย

4. งานพยาบาลมีหลายภารกิจจำแนกได้เป็น

4.1. งานบริการผู้ป่วย

4.2. งานบริหาร

4.3. งานการศึกษา

4.4. งานวิจัย

5. ภารกิจสำคัญในการบริหารการจัดการเพื่อพัฒนาระบบสาระสนเทศสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุขดังนี้

5.1. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานต่างๆ

5.2. การวิจัยและพัฒนาระบบสาระสนเทศ

5.3. การพัฒนาและปรับปรุงรายงานการเก็บข้อมูลต่างๆ

5.4. กำหนดระบบงานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีให้ทันสมัย

5.5. พัฒนาระบบสาระสนเทศเพื่อสนับสนุนการศึกษาและพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข

6. 1 พัฒนาการของการจำแนกเทคโนโลยีสาระสนเทศในระบบสุขภาพ

6.1. สังคมเกษตรกรรม

6.2. สังคมอุตสาหกรรม

6.3. สังคมข้อมูลข่าวสาร

6.4. วิจัยอุตสาหกรรม การคมนาคม การค้าธุรกิจ

6.5. บันเทิง โรงพยาบาล

6.6. องค์กรทหาร การศึกษา

7. 2 ระบบเครือข่ายสารสนเทศกระทรวงสาธารณสุข

7.1. เน้นการและสื่อสารข้อมูลข่าวสารด้านสารสนเทศสาธารณสุขโรงพยาบาลต่างๆและหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบ

7.2. สาระสนเทศสาธารณสุขได้แก่ข้อมูลประชากรข้อมูลสุขภาพข้อมูลสถิติข้อมูลกิจกรรมสาธารณสุขข้อมูลทรัพยากรทั้งเรื่องการใช้จ่ายเงิน

8. 3 ระบบสาระสนเทศในโรงพยาบาล Hospital information system HIS

8.1. เป็นระบบสาระสนเทศขนาดใหญ่

8.2. เป็นการสื่อสารกันภายในระบบเครือข่าย

8.3. การใช้งานยังมีลักษณะเป็นการจัดทำรายงานที่พิมพ์ออกมายังไม่สลับซับซ้อน

8.4. ส่วนใหญ่ใช้ในงานบริหาร มีการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลเพื่อการรักษาต่อ

8.5. สามารถคิดค่าใช้จ่ายระหว่างโรงพยาบาลต่างๆได้

9. ระบบสาระสนเทศทางการพยาบาล nursing information system :NIS

9.1. คือการทำงานพยาบาลทั้ง ด้านบริการ ด้านบริหาร ด้านการศึกษา ด้านวิจัย อย่างเป็นระบบระเบียบ โดยอาศัยสาระสนเทศการพยาบาลที่ดีในทุกด้าน

10. การเก็บข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล

10.1. สามารถใช้โปรแกรมจัดระเบียบจัดเก็บข้อมูลของตัวแปรในการวิจัย เเล้ว นำไปวิเคราะห์ข้อมูลได้เลย ทำให้ ทำงานได้รวดเร็วขึ้น ตัดทอนขั้นตอนต่างๆลงไปได้ สามารถตรวจสอบงานได้เที่ยงตรงถูกต้อง

11. การนำเสนอโครงการและอภิปรายการสรุป

11.1. สามารถใช้โปรแกรม Word Processor ในการจัดพิมพ์รายงานโปรแกรม Sread Sheet เเละโปรเเกรม Presentation นำเสนอผลงานวิจัยเป็นเครื่องมือสำคัญช่วยให้การทำวิจัยสะดวกรวดเร็ว ผลการทำวิจัยย่อมนำมาใช้พัฒนาความรู้และพัฒนาการปฎิบัติการพยาบาลให้เจริญก้าวหน้า นำไปสู่วิชาชีพและการบริการพยาบาลแก่ประชาชนทุกชาติ ทุกประเทศ ทุกเวลา ทุกโอกาส เป็นการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีสาระสนเทศในยุคข้อมูลข่าวสารอย่างแท้จริง