การช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุและสาธารณภัย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุและสาธารณภัย by Mind Map: การช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุและสาธารณภัย

1. ความหมายและแนวทางการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน Emergency care system ECS

1.1. ระบบรักษาพยาบาล 4 ระบบ

1.1.1. ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน EMS

1.1.2. ระบบการรักษาพยายามฉุกเฉินในโรงพยาบาล

1.1.3. ระบบส่งต่อ

1.1.4. ระบบการจัดการสาธารณภัย ด้านการแพทย์และสาธารณสุข

1.2. พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 2551

1.2.1. ผู้ป่วยฉุกเฉิน คือบุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บ มีอาการป่วยกะทันหัน เป็นภัยอันตรายต่อการดำรงชีวิต

1.2.2. การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ทำให้ผู้ป่วยพ้นจากภาวะฉุกเฉิน กระบวนการดังกล่าวหมายรวมถึง การประเมิน การจัดการ การประสารงาน การควบคุม ดูแล การติดต่อสื่อสาร การลำเลียงหรือขนส่งการตรวจวินิจฉัย & บำบัดรักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน ทั้งนอกและในสถานพยาบาล

2. การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและผู้ป่วยฉุกเฉิน

2.1. การจำแนกผู้บาดเจ็บ Triage มี 3 ประเภท

2.1.1. ตามอาการบาดเจ็บ

2.1.1.1. หนัก ช่วยทันที

2.1.1.2. ปานกลาง รอได้ระยะเวลาหนึ่ง

2.1.1.3. เบา เดินได้ ช่วยเหลือตัวเองได้

2.1.1.4. เสียชีวิต ไม่มีทางรอด

2.1.2. ตามความเร่งด่วนของการรักษา

2.1.2.1. ฉุกเฉินมาก - ให้การช่วยเหลือรีบด่วน ไม่อย่างนั้นตายหรือพิการ

2.1.2.1.1. หัวใจหยุดเต้น

2.1.2.1.2. หายใจไม่ออก หยุดหายใจ

2.1.2.1.3. ภาวะช็อก

2.1.2.1.4. ชักจนตัวเขียว

2.1.2.1.5. เลือดออกมาก รวดเร็วและตลอดเวลา

2.1.2.2. ฉุกเฉิน - รอได้ไม่นาน ถ้าปล่อยไว้อาจตายหรือพิการภายในไม่กี่ชั่วโมง

2.1.2.2.1. หายใจช้ากว่า 10ครั้ง/นาที หรือเร็วกว่า 30ครั้ง/นาที

2.1.2.2.2. ชีพจรช้ากว่า 40ครั้ง/นาที หรือเร็วกว่า150ครั้ง/นาที

2.1.2.2.3. ไม่รู้สึกตัว ชัก อัมพาต ตาบอด หูหนวกทันที

2.1.2.2.4. ตกเลือด ซีดมาก หรือเขียว

2.1.2.2.5. อุบัติเหตุ แผลใหญ่และหลายแห่ง

2.1.2.3. ไม่ฉุกเฉิน

2.1.2.3.1. กระดูกชิ้นเล็กๆแตกหัก

2.1.2.3.2. ตายระหว่างทาง DOA

2.1.2.3.3. ปวดหลังเรื้อรัง

2.1.2.3.4. หวัด

2.1.3. ตามกลุ่มโรค

2.1.3.1. ผู้ป่วยฉุกเฉินทางอายุรกรรม เช่น โรคหัวใจหลอดเลือด

2.1.3.2. ผู้ป่วยฉุกเฉินทางต่อมไร้ท่อ เช่น ภาวะคีโตนอะซิโดซิส

2.1.3.3. ผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางศัลยกรรม เช่น ปอด

2.1.3.4. ผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินารีเวช เช่น การล่วงละเมิดทางเพศ

2.1.3.5. ผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช เช่น ผู้ป่วย suicide

2.1.4. หลักการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน

2.1.4.1. 1.ประเมิน ABCD

2.1.4.1.1. Airway

2.1.4.1.2. Breathing

2.1.4.1.3. Circulation

2.1.4.1.4. Disability

2.1.4.2. 2.ให้การช่วยเหลือทันที เช่น ให้ออกซิเจน ให้กลูโคส

2.1.4.3. 3.ซักประวัติ

2.1.4.4. 4.เคลื่อนย้ายและนำส่งโรงพยาบาลด้วยวิธีที่เหมาะสม

3. หลักการเตรียมรับผู้ป่วยอุบัติเหตุหมู่

3.1. อุบัติเหตุหมู่ MCI คือ ภัยหรือเหตุการณ์ที่มีผู้บาดเจ็บจำนวนมาก

3.1.1. มากกว่า 3 คนขึ้นไป

3.1.2. ขึ้นกับที่เกิดเหตุ เมืองหรือชนบท

3.1.3. ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ป่วยเสมอไป

3.1.4. เช่น รถชนหลายคัน ทะเลาะวิวาท ไฟไหม้อาคารบ้านเรือน

3.2. การตอบสนอง MCI

3.2.1. เรียกร้องขอความช่วยเหลือ

3.2.2. เตรียมพร้อมกำลังบุคลากรและทรัพยากรให้พร้อม

3.2.3. ระดมให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้

3.3. 1.หน่วยคัดแยก Triage unit

3.3.1. หลักการ จัดการทรัพยากรที่มาอย่างจำกัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อช่วยผู้ป่วยให้ได้จำนวนมากที่สุด

3.3.2. การคัดแยกครั้งที่ 1

3.3.2.1. นิยมใช้ START

3.3.2.1.1. Simple Triage And Rapid Transport

3.3.2.1.2. ใช้ได้กับอายุ 8 ปีขึ้นไปหรือประมาณน้ำหนักมากกว่า 45กิโลกรัม

3.3.2.2. ใช้บัตรหรือริบบิ้นแยกผู้ป่วย

3.3.2.3. ทำใน Hot zone

3.3.2.4. ใช้ผู้ชำนาญและผู้ช่วยในการคัดแยกอย่างรวดเร็ว

3.3.2.5. ต้องผ่านการประเมินความปลอดภัยพื้นที่จุดเกิดเหตุแล้ว

3.3.3. การคัดแยกครั้งที่ 2

3.3.3.1. ผู้ป่วยจากจุดเกิดเหตุมาจุดดูแลรักษาพยาบาล

3.3.3.2. ประเมินผู้ป่วยให้ละเอียดมากกว่าเดิม

3.3.3.3. รถพยาบาลกู้ชีพจำเป็นต้องมีอุปกรณ์การคัดแยกที่พร้อมใช้งานตลอดเวลา

3.3.4. Triage sieve adult

3.3.5. Triage sieve pediatric

3.3.6. Triage sort

3.4. 2.หน่วยดูแลรักษาพยาบาล Treatment unit

3.4.1. ให้การดูแลรักษาเท่าที่จำเป็นต่อ non life threatening conditions

3.4.2. ใช้ long board เพื่อ immobilize เคลื่อนไหวให้นิ่งที่สุด

3.4.3. ห้ามเลือดและปิดแผล

3.5. 3.หน่วยรักษาศพ Morgue unit

3.5.1. ควรมีการฝึกฝน เตรียมใจรับสถานการณ์ผู้เสียชีวิตและรับปัญหาที่เกิดกับญาติ

3.5.2. ประสานกับศูนย์สั่งการ รับรองจำนวนผู้เสียชีวิต และให้ศูนย์สั่งการเป็นผู้ประกาศ

3.6. 4.หน่วยกำลังทรัพยากรและการเคลื่อนย้าย Staging and Transport unit

3.6.1. ต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตามระดับความรุนแรง

3.6.2. ควบคุม ดูแล ภายใต้คำสั่งของหัวหน้าและผู้บัญชาการเหตุการณ์

3.7. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพ

3.7.1. ก่อนและหลังการเคลื่อนย้าย เจ้าหน้าที่คัดแยกต้องติมตามผู้ป่วย

3.7.2. เคลื่อนย้ายตามลำดับความรุนแรง

3.7.3. มีคำแนะนำเบื้องต้นสำหรับการเคลื่อนย้าย

3.8. การสือสาร

3.8.1. อย่าปล่อยให้ปัญหาการสื่อสาร เป็นสิ่งสำคัญกว่าการดูแลรักษาและจัดการผู้ป่วย

3.9. การติดตามและรักษาความสงบเรียบร้อย

3.9.1. ทีมกู้ชีพอาจต้องช่วยเหลือต่อ หากโรงพยาบาลร้องขอ เพราะกำลังคนไม่พอ

3.9.2. หากไม่มีการร้องขอให้กลับไปจุดประจำการ

3.9.3. ผู้บัญชาการเหตุการณ์และศูนย์สั่งการออกจากที่เกิดเหตุเป็นลำดับสุดท้าย เพราะต้องประเมินและจัดการสถานการณ์