บทที่ 9 ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 9 ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ by Mind Map: บทที่ 9 ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ

1. การทำงานด้วยระบบสารสนเทศทางการพยาบาล คือ การทำงานพยาบาลทั้งด้านบริการ บริหาร การศึกษา วิจัย อย่างเป็นระบบระเบียบโดยอาศัยสารสนเทศทางการพยาบาลที่ดีในทุกด้านสามารถนำไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจในการทำงานการพยาบาลให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพได้

2. 3.ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล

2.1. การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการโรงพยาบาล ทั้งในส่วนที่เป็นงานบริการผู้ป่วย งานบริหาร และงานสนุบสนุนวิชาการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้ป่วย ผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

2.1.1. -เป็นระบบสารสนเทศขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยระบบสารสนเทศย่อยๆ

2.1.2. -มีการสื่อสารกันภายในระบบเครือข่าย

2.1.3. -ส่วนใหญ่ใช้ในงานบริหารทางด้านการเงิน บุคคล งานพัสดุต่างๆ ผู้ป่วย

2.1.4. -สามารถคิดค่าใช้จ่ายระหว่างโรงพยาบาลต่างๆได้

2.1.5. -สามารถคิดค่าใช้จ่ายระหว่างโรงพยาบาลต่างๆได้

2.2. กลุ่มงานบริการด้านการรักษาพยาบาล

2.2.1. -ระบบเวชระเบียนและสถิติ -ระบบงานผู้ป่วยนอก -ระบบงานผู้ป่วยใน

2.2.2. -ระบบงานเภสัชกรรม -ระบบงานพยาธิวิทยา/ระบบงานชันสูตร (Lab) -ระบบงานรังสีวิทยา

2.2.3. -ระบบงานเภสัชกรรม -ระบบงานพยาธิวิทยา/ระบบงานชันสูตร (Lab) -ระบบงานรังสีวิทยา

2.2.4. -ระบบงานห้องผ่าตัด -ระบบงานวิสัญญี -ระบบงานห้องคลอด -ระบบงานทันตกรรม

2.2.5. -ระบบงานจิตวิทยา -ระบบงานสังคมศาสตร์ -ระบบงานเวชกรรมสังคม -ระบบงานเวชกรรมฟื้นฟู

2.2.6. -ระบบงานโภชนาการ -ระบบงานหน่วยจ่ายกลาง -ระบบงานธนาคารโลหิต -ระบบงานการเงินผู้ป่วย

2.2.7. -ระบบงานส่งเสริมสุขภาพ -ระบบงานสุขาภิบาลและป้องกันโรค -ระบบงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

2.3. กลุ่มงานบริหารและวิชาการ ประกอบด้วยระบบงานสารสนเทศ 10 ระบบ ดังนี้ -ระบบงานธุรการ -ระบบงานพัสดุ -ระบบบัญชีและการเงิน -ระบบงานการเจ้าหน้าที่ -ระบบงานห้องสมุด -ระบบงานประชาสัมพันธ์ -ระบบงานพัฒนาคุณภาพบริการและวิชาการ -ระบบงานข้อมูลข่าวสารทางการแพทย์ -ระบบการศึกษา -ระบบงานสำหรับผู้บริหารโรงพยาบาล

2.4. ห้องบัตร -บันทึกลงทะเบียนประวัติผู้ป่วย

2.5. ห้องจ่ายยา -จำเป็นต้องมีระบบเบิกจ่ายยา การสั่งซื้อยาของแต่ละคลังยา

2.6. ห้องการเงิน -บันทึกรายการค่ารักษาอื่นๆ -บันทักให้สิทธิค่ารักษา -บันทึกรับเงินค่ารักษา

2.7. ประชาสัมพันธ์ -ช่วยในการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารต่างๆในโรงพยาบาล

2.8. งานการพยาบาลมีหลายภารกิจจำแนกได้เป็น 4 กลุ่มงาน คือ 1. งานบริการผู้ป่วย 2. งานบริหาร 3. งานการศึกษา 4. งานวิจัย 

3. 4.ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล

3.1. ข้อมูลที่พยาบาลบันทึกไว้อย่างเป็นระบบจะถูกนำไปใช้ประโยชน์ได้ทุกระดับ -การประเมินผลงานรายบุคคล ประเมินผลงานของแผนกการพยาบาล ประเมินผลงานกลุ่มผู้ป่วย ประเมินผลงานของวิชาชีพพยาบาล เพื่อให้ได้รับการสนับสนุนได้รับการยอมรับเป็นการยกระดับวิชาชีพ เพื่อจัดสรรงบประมาณระดับชาติให้แก่วิชาชีพพยาบาลและเพื่อให้ได้รับเงินช่วยเหลือสนับสนุนจากองค์กรเอกชนที่มองเห็นประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมจากการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศทางการพยาบาล

3.2. ภารกิจในงานการศึกษา ประกอบด้วย งานบริหารการศึกษาและงานการเรียนการสอน ภารกิจงานการบริหารการศึกษา ฝ่ายบริหารหารศึกษาต้องจัดหาจัดเตรียมทรัพยากรในการดำเนินงาน จัดสรรทรัพยากรให้แก่กระบวนการเรียนการสอน ดำเนินกิจกรรมให้ความช่วยเหลือสนับสนุนการเรียนการสอน ประเมินผลการดำเนินงาน ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรให้ทันกับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไป

3.3. ภารกิจการเรียนการสอน เช่น การใช้โปรแกรม Word processor ในการพิมพ์เอกสารการสอน บักทึกการสอน พิมพ์รายงานส่ง ใช้โปรแกรมนำเสนอประกอบการบรรยาย จัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย เป็นต้น

4. ภารกิจสำคัญใสการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้

4.1. -การเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานต่างๆและสาธารณสุขทั่วประเทศ

4.2. -การวิจัยและพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข

4.3. -การพัฒนาและปรับปรุงระเบียน รายงาน และระบบการเก็บข้อมูลต่างๆ ให้ทันสมัย

4.4. -กำหนดระบบงานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีให้ทันสมัย

4.5. -ทำการพัฒนาบุคลากรด้านระบบข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ

4.6. -พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการศึกษาและพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข

4.7. -พัฒนาฐานข้อมูลสาธารณสุขและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขให้แก่องค์กรภายนอกและสาธารณะให้เกิดประโยชน์สูงสุด

5. 1.พัฒนาการของการจำแนกเทคโนโลยีสารสนเทศในระบบสุขภาพ

5.1. มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการปฏิบัติงานวิจัยทาง Biomedicine กันอย่างกว้างขวาง การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานการแพทย์มีพัฒนาการต่อมาด้วยการผสมผสานระหว่าง Medical Computer Science กับ Information Science ทางการแพทย์ เรียกความรู้ที่ปรับแปลงประยุกต์นี้ว่า Medical Infoemation

6. 2.ระบบเครือข่ายสารสนเทศกระทรวงสารธารณะสุข

6.1. หมายถึง ระบบสารสนเทศที่เน้นการจัดเก็บและสื่อสารข้อมูลสารสนเทศด้านสารธณสุขระหว่างโรงพยาบาลต่างๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของภารกิจในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ

6.1.1. สารสนเทศสาธารณสุข ได้แก่ ข้อมูลประชากร ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลสถิติชีพ ข้อมูลกิจกรรมสาธารณสุข ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข

6.1.2. ระบบงานสาธารณสุข ประกอบด้วยภารกิจ 7 ประเภท คือ การส่งเสริม การป้องกัน การคุ้มครองกลุ่มเสี่ย การชันสูตรโรค การรักษาพยาบาล การจำกัดความพิการ การฟื้นฟูสภาพ

6.2. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกระทรวงสาธารณสุข

6.2.1. -คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เชื่อมโยงเป็น Terminal ไปตามจุดต่างๆ

6.2.2. -จัดเก็บและประมวลผลข้อมูลสถิติสาธารณสุขและระบาดวิทยา

6.2.3. -พัฒนาจัดเก็บข้อมูลด้านอื่น เช่น รับบบัญชี อาหารและยา

6.2.4. -เมื่อถึงยุคของการลดขนาดของระบบหรือที่เรียกว่า down sizing กระทรวงสาธารณสุขได้ใช้ (PC) เชื่อมโยง LAN ทดแทนแบบเก่า

6.2.5. -เปลี่ยนจาก Host based มาเป็น client/server

6.3. จำแนกขอบเขตการเชื่อมโยงได้ 6 ลักษณะดังนี้

6.3.1. -ระบบ LAN

6.3.2. -FDDI backbone

6.3.3. -เครือข่าย Telemedicine

6.3.4. -เครือข่ายเชื่อมโยงไปยังส่วนภูมิภาค แบบ Enterprise wide area network

6.3.5. -การใช้งานผ่านโทรศัพท์ในลักษณะ Dial up

6.3.6. -เชื่อมโยงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบบ LAN ไปยังห้องผู้บริหาร