บทที่ 5 การปฐมพยาบาล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 5 การปฐมพยาบาล by Mind Map: บทที่ 5 การปฐมพยาบาล

1. การปฐมพยาบาลผู้ที่มีบาดแผล

1.1. ชนิดของแผล

1.1.1. แผลปิด มีการฉีกขาดและมีเลือดไหลแต่ไม่ออกนอกร่างกาย

1.1.2. แผลเปิด มีการฉีกขาดและมีเลือดไหลออกนอกร่างกาย

1.2. ลักษณะของเลือดไหล

1.2.1. เลือดออกซึมๆไหลช้าๆ เกิดจากเส้นเลือดฝอยได้รับอันตราย รุนแรงน้อย ห้ามเลือดง่าย

1.2.2. เลือดออกมีสีแดงคล้ำ ไหลช้าไม่พุ่งแรง เกิดจากเส้นเลือดดำได้รับอันตราย

1.2.3. เลือดออกสีแดงสด พุ่งแรงเป็นจังหวะ เกิดจากเส้นเลือดใหญ่ได้รับอันตราย

1.3. หลักการห้ามเลือด

1.3.1. ยกส่วนที่มีบาดแผลให้สูงกว่าหัวใจ

1.3.2. ปิดทับบาดแผลให้แน่น

1.3.3. กดบนหลอดเลือดแดงใหญ่

1.4. การปฐมพยาบาล

1.4.1. แผลช้ำ

1.4.1.1. 24 hr แรกประคบเย็น เพื่อไม่ให้เลือดออก

1.4.1.2. 24 hr ต่อมาประคบร้อนระงับความเจ็บปวด

1.4.2. แผลถลอก

1.4.2.1. ชะล้างและทำความสะอาดรอบแผล

1.4.2.2. ถ้าสกปรกมากล้างด้วยน้ำสบู่มา ใช้แอลกอฮอล์เช็ดรอบแผล ทายาฆ่าเชื้อโพวีดีน

1.4.3. กดบนบาดแผลโดยมีผ้าสะอาดวาง ทับแผลนาน 10 นาที

1.4.4. แผลตัดอวัยวะขาด

1.4.4.1. นิ้ว แขน มือ ขาขาด ใช้ถุงพลาสติกสวมแล้วรัดปากถุงให้แน่น

1.4.4.2. จุ่มทั้งถุงใส่ในน้ำที่มีน้ำแข็งอยู่

1.4.4.3. ห้ามนำอวัยวะที่ขาดแช่ในน้ำแข็งที่ไม่มีน้ำปนเด็ดขาด

1.4.4.4. การเก็บรักษาวิธีนี้ทำให้นิ้วทนการขาดเลือดได้ 24 hr ส่วนแขนขาทนได้ 6-8 hr

2. การปฐมพยาบาลผู้ที่มีภยันตรายของกระดูก

2.1. ประเภทกระดูกหัก

2.1.1. กระดูกหักแบบปิด

2.1.1.1. การแตกของกระดูกแบบไม่มีแผลหรือรอยทะลุออกมานอกผิวหนัง

2.1.2. กระดูกหักแบบเปิด

2.1.2.1. การแตกของกระดูกร่วมกับมีแผลหรือกระดูกโผล่ออกมาภายนอก

2.2. การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับกระดูก

2.2.1. กระดูกข้อมือหัก

2.2.1.1. เข้าเฝือก

2.2.2. กระดูกขากรรไกรล่างหัก

2.2.2.1. ใช้ผ้าพันพยุง

2.2.3. กระดูกไหปลาร้าหัก

2.2.3.1. เข้าเฝือกกระดูก

2.2.3.2. ใช้ผ้ายืดพยุงกระดูก

2.2.4. กระดูกซี่โครงหัก

2.2.4.1. เข้าเฝือกกระดูก

2.2.4.2. ใช้ผ้าพันยึดบริเวณซี่โครงที่หัก

2.2.5. กระดูกสันหลังหัก

2.2.5.1. เข้าเฝือกหลังโดยใช้ไม้กระดานแผ่นยาว

2.2.5.2. พลิกตัวแบบ log rolling

2.2.6. กระดูกเชิงกรานหัก

2.2.6.1. ใช้ผ้านุ่มๆป้องกันที่ข้อเท้า เข่า

2.2.6.2. พันผ้าแบบหน้ากว้างที่เข่าอย่างนุ่มนวลแต่แน่นหนา

2.3. แผลฉีกขาด

2.3.1. ทำความสะอาดแผลด้วยน้ำและสบู่

2.3.2. ถ้าฉีกขาดไม่มากใช้ผ้าปิดแผลและพันผ้าให้ขอบชิดกัน

2.3.3. ถ้ารุ่งริ่งมากนำส่ง รพ.เร็วที่สุด

3. การปฐมพยาบาลผู้ที่จมน้ำ

3.1. การช่วยเหลือ

3.1.1. ดึงเข้าหาฝั่งโดยการกอดไขว้หน้าอก

3.1.2. ดึงเข้าหาฝั่งด้วยวิธีจับคาง

3.1.3. ดึงเข้าหาฝั่งด้วยวิธีจับผม

4. การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดูด

4.1. การช่วยเหลือเบื้องต้น

4.1.1. ปิดสวิตช์ที่จ่ายไฟ

4.1.1.1. คัทเอาท์

4.1.1.2. เต้าเสียบ

4.1.2. ใช้ไม้แห้ง เขือก แยกผู้ป่วยออกจากวงจรไฟฟ้า

4.1.3. เรียก เขย่าตัวผู้ป่วย

4.1.3.1. ดูว่าหมดสติหรือไม่

4.1.3.2. จัดให้นอนราบหงายบนพื้น

4.1.4. ตรวจดูว่าหายใจหรือไม่

4.1.4.1. ถ้าหยุดหายใจต้องเป่าปาก

4.1.4.2. ถ้าหัวใจหยุดเต้นต้องนวดหัวใจ

5. การปฐมพยาบาลก็ผู้ที่เเลือดกำเดาไหล

5.1. การห้ามเลือด

5.1.1. ใช้นิ้วมือบีบจมูก

5.1.2. ใช้สำลีอุด

6. การปฐมพยาบาลผู้ที่ช๊อค

6.1. Shock

6.1.1. อาการที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไไปเลี้ยงส่วต่างๆของร่างกายได้เพียงพอ

6.2. สาเหตุ

6.2.1. เสียเลือด เสียน้ำจากร่างกายมาก

6.2.1.1. เสียเลือดทั้งออกนอกร่างกายและในร่างกาย

6.2.1.2. เสียน้ำ เช่น อุจจาระร่วง อาเจียน

6.2.1.3. เสียน้ำเหลือง เช่น บาดแผลจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก

6.2.2. ขาดออกซิเจน

6.2.2.1. ทางเดินหายใจอุดตัน

6.2.2.2. การหายใจเข้าออกลำบาก

6.2.2.3. กล้ามเนื้อหัวใจล้มเหลว สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างไม่เพียงพอ

6.2.3. จากสารพิษของแบคทีเรีย เชื้อโรค

6.2.3.1. เจอในคนที่อยู่ รพ.

6.2.3.2. เกิดช๊อคหลังเชื้อเข้าร่างกายในวันที่ 2-3 แล้ว

6.2.4. จากอารมณ์กลัว ตื่นเต้น ตกใจมากๆ เจ็บปวดมากๆ

6.2.5. จากการแพ้

6.2.5.1. แพ้ยา

6.2.5.2. แพ้พิษต่างๆ

6.3. การช่วยเหลือ

6.3.1. จัดให้นอนไม่หนุนหมอน

6.3.2. ถ้าหยุดหายใจ หายใจไม่สะดวก ให้เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง

6.3.3. ถ้าหัวใจหยุดเต้นต้องกระตุ้นหัวใจจากภายนอก

6.3.4. ถ้ามีแผลต้องห้ามเลือด

6.3.5. จัดให้บริเวณที่มีแผลอยู่นิ่งๆ

6.3.6. รักษาตามอาการ ปวดมากให้ยาแก้ปวด

6.3.7. นำส่ง รพ.

7. การปฐมพยาบาลผู้ที่เป็นลม

7.1. อาการเป็นลม

7.1.1. ลมธรรมดา

7.1.1.1. อ่อนเพลีย วิงเวียนศรีษะ

7.1.1.2. หน้าซีด ตัวเย็น ชีพจรเบา

7.1.2. ลมแดด

7.1.2.1. ผิวหนังแดง+ร้อนจัด

7.1.2.2. ไม่มีเหงื่อ หมดความรู้สึกชั่ววูบ

7.2. การปฐมพยาบาล

7.2.1. กรณียังไม่หมดสตติ

7.2.1.1. ถ้าที่แออัดควรให้นั่งศีรษะก้มต่ำอยู่ระหว่างเข่า

7.2.1.2. จัดให้นอนในที่อากาศถ่ายเทสะดวก

7.2.1.3. ให้นอนศีรษะต่ำกว่าลำตัวของ ยกขาสูง

7.2.1.4. ลมแดดควรจัดศีรษะของสูงกว่าลำตัว

7.2.1.5. ลมแดดควรเช็คตัวด้วยน้ำเย็น

7.2.1.6. คลายสิ่งรัดตัวออกให้หลวมสบาย

7.2.1.7. ให้ดื่มเครื่องดื่มเย็นๆ ถ้าเสียเหงื่อมากผสมเกลือแกง 1/4-1/2 ช้อนกาแฟต่อน้ำ 1 แก้ว

7.2.1.8. ถ้าคลื่นไส้ อาเจียนอยู่ งดให้ดื่ม

7.2.2. กรณีหมดสติ

7.2.2.1. จัดให้นอนในที่อากาศถ่ายเทสะดวก

7.2.2.2. ตรวจดูว่ามีการหายใจหรือไม่

7.2.2.3. ตรวจดูการไหลเวียนของเลือด คลำชีพจร

8. การปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉิน

8.1. การประเมินสถานการณ์

8.1.1. ประเมินดูว่าเกิดอะไรขึ้นอย่างรวดเร็ว และไม่ตกใจ

8.1.2. ดูว่ามีอันตรายต่อตนเอง ผู้บาดเจ็บอีกหรือไม่

8.2. ทำให้เกิดความปลอดภัย

8.2.1. ป้องกันผู้บาดเจ็บไม่ให้รักได้รับอันตรายเพิ่ม

8.2.2. อย่าทำอะไรเกินความสามารถตนเอง

8.3. ขอความช่วยเหลือ

8.3.1. ช่วยด้วยช่วยโทร 1669 ขอทีมแพทย์พร้อมเครื่องAEDด้วยค่ะ/ครับ

9. ความหมายของการปฐมพยาบาล

9.1. การให้ความช่วยเหลือต่อผู้บาดเจ็บ ณ สถานที่เกิดเหตุ โดยกะทันหันให้พ้นขีดอันตราย

10. หลักการทั่วไปในการปฐมพยาบาล

10.1. เมื่อพบผู้บาดเจ็บต้องช่วยเหลือทันที

10.2. ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บในกรณีที่มีอันตรายโดยรีบด่วนก่อน

10.3. อย่าให้มีคนมุง เพื่อให้มีอากาศปลอดโปร่ง

10.4. จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในนท่าที่เหมาะสมในการปฐมพยาบาล

10.5. อย่าเคลื่อนไหวผู้บาดเจ็บเกินความจำเป็น

10.6. บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์เกี่ยวกับอาการผู้บาดเจ็บ

11. การปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกไฟไหม้

11.1. ชนิดแผลไหม้

11.1.1. ไหม้เฉพาะชั้นผิว

11.1.1.1. แห้ง แดง พองเป็นตุ่นน้ำใส

11.1.1.2. ปาดแสบปวดร้อน

11.1.2. ไหม้ลึกถึงเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง

11.1.2.1. สีน้ำตาล เทา ดำ

11.1.2.2. มีกลิ่นไหม้ รอบๆแผลซีด

11.2. การปฐมพยาบาลทั่วไป

11.2.1. รีบดับไฟโดยใช้ผ้าชุบน้ำสะอาดคลุมตัวผู้บาดเจ็บ

11.2.2. ใช้น้ำราดบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ หรือวุ่นว่านหางจระเข้ประคบ

11.2.3. รีบถอดเสื้อผ้า เครื่องประดับออกก่อนแผลบวม

11.2.4. ถ้าหยุดหายใจต้องช่วยผายปอด

11.2.5. ขณะนำส่ง รพ. ควรใช้ผ้าสะอาดคลุมร่างกาย

12. การปฐมพยาบาลผู้ถูกงูกัด

12.1. 7 สัญญาณเมื่อถูกงูกัด

12.1.1. มีรอยเขี้ยว 2 ข้าง บวมแดงรอบรอยกัด

12.1.2. มีอาการปวดรุนแรง

12.1.3. คลื่นไส้อาเจียน

12.1.4. หายใจติดขัด รุนแรงอาจหยุดหายใจ

12.1.5. สายตาขุ่นมัว

12.1.6. มีน้ำลายมากผิดปกติ

12.1.7. หน้าชา แขนนขาชา

12.2. สิ่งที่ควรทำหลังถูกงูกัด

12.2.1. บีบเลือดบริเวณบาดแผลเท่าที่ทำได้

12.2.2. ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด ฟอกสบู่ ด่างทับทิม

12.2.3. นำส่ง รพ.ให้เร็วที่สุด

12.3. สิ่งที่ห้ามในการช่วยผู้ถูกงูกัด

12.3.1. ห้ามใช้เหล้า ยาสีฟัน สิ่งอื่นๆทาแผล

12.3.2. ไม่ควรกรีดแผล เพราะพิษอาจกระจายเร็ว

12.3.3. ไม่ควรใช้ปากดูดเลือดจากแผล

12.3.4. ห้ามขันชะเนาะ

12.3.5. ห้ามให้ผู้ถูกงูกัดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

13. การปฐมพยาบาลสิ่งแปลกปลอมเข้าร่างกาย

13.1. เข้าตา

13.1.1. อย่าขยี้ตาเด็ดขาด

13.1.2. ลืมตาในน้ำสะอาดผสมเกลือ

13.1.3. ถ้าผงติดเปลือกตา ใช้าผ้าสะอาดเขี่ยออก

13.1.4. ผงในลูกตา ใช้น้ำมันพืช น้ำมันแร่ หรือขี้ผึ้งป้ายตา

13.2. เข้าจมูก

13.2.1. ปิดจมูกอีกข้าง ลองสั่งน้ำมูกแรงๆ

13.2.2. ทำให้จามเพื่อขับสิ่งแปลกปลอมไม่

13.3. เข้าหู

13.3.1. หยอดด้วยไขมันอุ่นๆ น้ำมันพาราฟิน น้ำอุ่นๆ

13.3.2. อย่าแหย่ด้วยลวด เข็ม หรือโลหะ

13.4. ติดลำคอ

13.4.1. ล้วงคอให้อาเจียน

13.4.2. ให้ผู้ป่วยยืนโค้งก้มหัวให้มากที่สุด

13.4.3. ตบหลังตรงสะบักแรงๆให้ไอออกมาา

13.4.4. เด็กให้ยกเท้าห้อยศีรษะแล้วตบหลัง