การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยเด็ก

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยเด็ก by Mind Map: การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยเด็ก

1. เด็กวัยก่อนวัยเรียน

1.1. พัฒนาการของเด็กก่อนวัยเรียน

1.1.1. การเจริญเติบโตของเด็กในช่วงนี้จะช้าลงและค่อนข้างคงที่ มีความสามารถทางร่างกายเพิ่มขึ้น

1.2. ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กก่อนวัยเรียน

1.2.1. ด้านร่างกาาย

1.2.1.1. ปัญหาสุุขภาพในช่องปาก

1.2.1.2. ปัญหาภาวะโภชนาการ

1.2.1.3. ปัสสาาวะรดที่นอน

1.2.1.4. โรคเหา

1.2.1.5. โรคผิวหนัง

1.2.1.6. อุบัติเหตุ

1.2.2. ด้านจิตใจ

1.2.2.1. อารมณ์โมโหร้าย พบบ่อยในช่วงอายุ 15 เดือนถึง 3 ปี เพื่อต้องการเรียกร้อองความสนใจ

1.2.2.2. ความกลัว เป็นการเรียนรู้ที่มากขึ้นของเด็ก เช่นกลัวฟ้าร้อง ความมืด

1.2.2.3. การดูดนิ้วหัวแม่มือ พบได้ปกติในช่วงขวบปีแรก แต่ถ้ามากกว่า 3 ปี ควรหาสาเหตุ

1.2.3. ด้านสังคม

1.2.3.1. ความอิจฉา

1.2.3.1.1. โดยเฉพาะในช่วงที่มีน้อง

1.2.3.2. การหยิบของผู้อื่น

1.2.3.2.1. ถือเป็นพฤติกรรมปกติเพราะเด็กยังไม่เข้าใจถึงการเคารพสิทธิของผู้อื่น

1.2.3.3. การรพูดโกหก

1.2.3.3.1. พบได็ในเด็กอายุ 5-6ปี เนื่องจากเด็กยังไม่สามารถแยกแยะได้ว่าเรื่องใดเป็นเรื่องจริง

1.2.3.4. การกลัวการไปโรงเรียน

1.2.3.4.1. เด็กที่ไม่ชอบไปโรงเรียนจะแสดงออกหลายรูปแบบ เช่น ร้องไห้

1.2.3.5. พฤติกรรมก้าวร้าว

1.2.3.5.1. ปัญหาพูดไม่ชัด หรือ ออกเสียงผิดปกติ

1.2.3.5.2. เนื่องจากเด็กไม่รู้ว่าพฤติกรรมใดจะทำให้ผู้อื่นได้้รับความเดือดร้อน

1.2.4. ด้านจิตวิญญาณ

1.2.4.1. ปัญหาพูดติดอ่าง

1.2.4.2. ปัญหาการพูดช้า

1.2.4.2.1. เกิดจากความบกพร่องทางการได้ยิน ปัญญาอ่อน

1.3. ป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคติดเชื้อด้วยวัคซีน

1.4. การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย

1.4.1. ส่งเสริมการรักษาดูแลสุขภาพฟัน

1.4.2. ส่งเสริมการอยากรับประทานอาหาร

1.4.3. ส่งเสริมสุขลักษณะการนอนที่ดี

1.4.3.1. โดยการจัดเวลานอน-เวลาตื่นให้เป็นกิจวัตรสำหรับเด็ก

1.4.4. การปรับปรุงพฤติกรรมปัสาวะรดที่นอน

1.4.4.1. แก้ไขโดยการไม่ใส่ผ้าอ้อม ฝึกบอกเมื่อตต้องขับถ่าย และปัสสาวะก่อนนอน

1.4.5. ส่งเสริมการหัดเดินด้วยการเลือกรองเท้าที่เหมาะสม

1.5. การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ

1.5.1. การปรับพฤติกรรมอารมณ์เด็กเจ้าอาละวาด

1.5.1.1. โดยการหลีกเลี่ยงเหตุการณ์ที่ทำให้เด็กอาละวาด เช่น หิวจัด

1.5.2. การเสริมสร้างวุฒิภาวะทางอารมณ์

1.5.3. การเสริมสร้งสุขภาพจิตทั่วไป

1.5.3.1. เช่่น การพูดด้วยท่าทางสุภาพ พูดจานุ่มนวล

1.6. การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม

1.6.1. การพัฒนาการเล่น

1.6.2. สนับสนุนเลือกพี่เลี้ยงที่ไว้วางใจได้

1.6.2.1. มีการเรียนรู้เรียนแบบจากคนใกล้ชิด

1.6.3. ส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมทั่วไป

1.6.3.1. เช่น สอนให้มีสัมมาคารวะ รู้จักทำความเคารพ

1.6.3.1.1. เด็ก 2-3 ขวบมักมีคำถสมว่า ทำไมๆเพราะทุกสิ่งทุกอย่างใหม่สำหรับเด็ก

1.7. การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตวิญญาณ

1.7.1. ส่งเสริมพัฒนาการทาางภาษา

1.7.2. ส่งเสริมศักยภาพการออกเสียงให้ชัดเจนเป็นปกติ ในเด็กที่มีพฤติกรรมพูดไม่ชัด และพูดติดอ่าง

1.7.3. ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาทั่วไป

1.7.3.1. สอนให้เด็กรู้จักสังเกต สนใจสิ่งต่างๆรอบๆตัว

2. บทบาทของพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพในวัยเด็ก

2.1. 1.การประเมินสภาพเพื่อค้นหาความผิกปกติด้านการเจริญเตติบโต และ พัฒนาการล้าช้า

2.2. 2.การติดตามเฝ้าระวัง และ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

2.3. 3.การป้องกันการเจ็บป่วยโดยการให้วัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

2.4. 4.การให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขอนาามัย และเพศศึกษษในวัยเด็ก

2.5. 5.การให้คำปรึกษาและการให้คำแนะนำล่วงหน้า แกก่บิดามารดา และผู้ดูแลเด็ก

2.6. 6.การให้คำแนะนำเพื่อป้องกันโรค อุบัติเหตุและการปาดเจ็บ

3. เด็กวัยทารก

3.1. พัฒนาการของเด็กทารก

3.1.1. เด็กจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วต่อเนื่อง เป็นวัยที่มีการติดเชื้อได้ง่ายมากกว่าวัยอื่น

3.2. ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพฤติกรรมเสียงในเด็กวัยทารก

3.2.1. ปัญหาทางร่างกายที่พบบ่อยในทารก เช่น อาเจียน สะอึก ท้องผูก ท้องร่วง ปวดท้องโคลิค ผื่นผ้าอ้อม ลิ้นเป็นฝ้า สะดือจุ่น

3.2.2. ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของทารกด้านจิตใจ เช่น อารมณ์ไม่พอใจและตื่นเต้น อารมณ์โกรธ

3.2.3. ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของทารกด้านสังคม เช่น กลัวคนแปลกหน้า พบเมื่อเด็กอายุ 8 เดือน

3.3. การประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมของวัยทารก

3.3.1. การประเมินด้านการเจริญเติบโต เช่น ความสูงหรือความยาว น้ำหนัก ขนาดรอบศีรษะ รอบอกรอบท้อง การขึ้นของฟัน

3.3.2. การประเมินพัฒนาการ

3.3.3. การประเมินสุขภาพโดยใช้แบบแผนสุขภาพ

3.4. การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย

3.4.1. ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ควรให้ทารกแรกเกิดถึง 6 เดือน ได้รับนมแม่เพียงอย่างเดียว

3.4.2. ส่งเสริมให้ทารกได้รับอาหารเสริมเหมาะสมตามวัย

3.4.3. ส่งเสริมให้ทารกมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ควรเริ่มตั้งแต่เกิด เพราะประสาทสัมผัสเริ่มทำงานแล้ว โดยการใช้ของเล่นกระตุ้นการเรียนรู้ของเด็ก

3.4.4. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันเหมาะสมกับวัย ต้องได้รับวัคซีนเพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกัน

3.5. การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ

3.5.1. วัยทารกเป็นวัยที่ต้อองการการปกป้องดูแลเป็นพิเศษ เช่น การกอด การสัมผัส ลูบตัวเบาๆทำให้รรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย

4. เด็กวัยเรียน

4.1. พัฒนาการของเด็กวัยเรียน

4.1.1. วัยนี้การเจริญเติบโตด้านร่างกายจะช้าและคงที่จนกระทั่งเข้าสู่ระยะก่อนวัยรุ่น เวลานี้การทำงานของกล้ามเนื้อและสมองทักษะการรู้คิดมีความชัดเจนและขยายมากขึ้น

4.2. ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กวัยเรียน

4.2.1. ด้านร่างกาย

4.2.1.1. ปัญหาสุขภาพในช่องปาก

4.2.1.2. ปัญหาภาวะโภชนาการ

4.2.1.3. ปัญหาโรคติดเชื้อและพาราซิต

4.2.1.3.1. เช่นโรคติดเชื้อที่ผิวหนังจากแบคทีเรีย

4.2.1.4. อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ

4.2.2. ด้านจิตใจ

4.2.2.1. การไม่อยากไปโรงเรียน

4.2.3. ด้านสังคม

4.2.3.1. ปัญหาการเรียน

4.2.3.1.1. เด็กจะรู้สึกต่อต้านไม่อยากไปโรงเรียน เกิดในช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์

4.2.3.1.2. ส่วนหนึ่่งมาจากปัญหาสุขภาพ เช่น ความพิการของร่างกาย หูหนวก ตาบอด ความผิดปกติทางสมอง

4.2.3.2. การลักขโมย

4.2.3.2.1. เด็กวัยเรียนมักหยิิบของผู้อื่น เช่น จากพี่น้อง พ่อแม่ เพื่อน หยิบจัับของส่วนร่วมมาเป็นของส่วนตัว

4.2.3.3. ปัญหาเด็กขาดกการดูแลหลังเลิกเรียน

4.2.3.3.1. ผู้ปกครองต้องไปทำงานนอกบ้านแล้วกลับช้า ตอนเย็นเด็กมีกถูกทอดทิ้งให้อยู่บ้านคนเดียว ทำให้รู้สึกเหงา หว่าเว้

4.2.4. ด้านจิตวิญญาณ

4.2.4.1. ปัญหาที่สัมพันธ์กับพัฒนาการด้านภาษา

4.2.4.1.1. ด้านการพูดจะพบตตั้งแต่ก่อนวัยเรียน และจะเชื่อมมาจนถึงเด็กเข้าเรียน เด็กจะอ่านไม่ชัด

4.3. แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพวัยเรียน

4.3.1. ด้านร่างกาย

4.3.1.1. ส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากในวัยเรียน

4.3.1.2. ส่งเสริมผู้ปกครองในด้านการจัดหาอาหารที่เหมาะสมตามวัย

4.3.1.2.1. จัดหาอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ครบ 5 หมู่

4.3.1.3. เฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

4.3.1.3.1. เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง

4.3.1.4. ส่งเสริมทักษะการป้องกันอุบัตติเหตุในวัยเด็ก

4.3.2. ด้านจิตใจ

4.3.2.1. สร้างเสริมความมั่นใจในการไปโรงเรียน

4.3.2.1.1. เช่น ควรหาสาเหตุที่แท้จริง และแก้ไขปัญหา

4.3.2.2. วิตกกังวลปัญหาด้านการเรียน

4.3.2.3. ส่งเสริมความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ

4.3.3. ด้านสังคม

4.3.3.1. ส่งเสริมความเข้าใจในเรื่องความเป็นเจ้าของในวัยเรียนในวัยที่มีพฤติกรรมลักขโมย

4.3.3.2. ส่งเสริมเด็กให้รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเองและครอบครัว

4.3.3.3. สร้างเสริมวินัยในเด็กวัยเรียน

4.3.3.3.1. เช่น บอกกติกาให้ชัดเจน จริงใจกับลูก ไม่โต้เถียง

4.3.3.4. สร้างเสริมทักษะที่จำเป็นแก่เด็กวัยเรียน

4.3.3.4.1. การเรียนรู้ การฝึกฝนผ่านกิจกรรมต่างๆ

4.3.3.5. ส่่งเสริมทักษะการดูแลตนเองหากจำเป็นต้องอยู่บ้านคนเดียว

4.3.3.5.1. โดยการสอนทักษะการจำ เช่น สอนให้จำชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์

4.3.3.6. ส่งเสริมบทบาทผู้ปกครองในการแก้ปัญหาเรื่องเด็กติดโทรทัศน์