การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางจิตสังคม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางจิตสังคม by Mind Map: การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางจิตสังคม

1. ผู้ที่มีพฤติกรรมรุนแรง (Violence)

1.1. การใช้คำพูดพฤติกรรมคุกคามที่มีความที่มีผลทำให้ผู้อื่นตกใจกลัว (Threaten) มีพฤติกรรมที่พยายามจะใช้กำลังและอาวุธทำร้ายคนอื่น(Attempt) และมีการใช้อาวุธหรือกำลังทำร้ายผู้อื่น(Actual)

1.2. วิธีการบำบัดทางการพยาบาล

1.2.1. 1.ประเมินสภาพผู้ป่วยผู้ที่มีพฤติกรรมรุนแรง

1.2.2. 2.พยาบาลควรมีท่าทีที่เป็นมิตรสงบและให้เขียนเพื่อให้เกิดความรู้สึกไว้วางใจ

1.2.2.1. -พยาบาลไม่ควรเอามือไขว้ข้างหน้าเพราะอาจแสดงถึงความกลัว

1.2.2.2. -ยืนเอามือไขว้หลังอาจจะเป็นการแสดงว่าพยาบาลซ่อนบางสิ่งเอาไว้ผู้ป่วยอาจมีความหวาดระแวงเพิ่มขึ้น

1.2.2.3. -ควรเอามือไว้ข้างๆตัวเพื่อให้เกิดความสนใจไม่ควรจะทำให้ยกเก้าอี้เพราะผู้ป่วยอาจมีความหมายว่าพยาบาลท้าทายได้

1.2.3. 3.การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล

1.2.3.1. -จากสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยเพื่อลดสิ่งคุกคามความรู้สึกผู้ป่วย

1.2.3.2. -ตรวจค้นตัวผู้ป่วยไม่ให้ซื้อสิ่งของที่อาจใช้เป็นอาวุธได้

1.2.3.3. -พยาบาลต้องเผชิญกับพนักงานด้วยความตั้งใจนะมัดระวังและมีท่าทีสงบ

1.2.4. 4.หลังจากที่ผู้ป่วยมีอาการเป็นพยาบาลควรเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดระบายความรู้สึก

1.2.5. 5.พยาบาลควรให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการจัดการกับอารมณ์ความโกรธออกไปทางที่เหมาะสม

2. ผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เป็นมิตร(Hostility)

2.1. ลักษณะของผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เป็นมิตร

2.1.1. พฤติกรรมการทำลาย

2.1.2. อิจฉา

2.1.3. ริษยา

2.1.4. เกลียดชัง

2.2. สาเหตุ

2.2.1. รู้สึกสูญเสียคุณค่าในตนเอง (Low self-esteem)

2.3. วิธีการบำบัดทางการพยาบาล

2.3.1. การประเมินความไม่เป็นมิตร

2.3.1.1. การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย

2.3.1.1.1. ความดันโลหิตสูง

2.3.1.1.2. ชีพจรเต้นเร็ว

2.3.1.1.3. หายใจถี่ขึ้น

2.3.1.2. ด้านคำพูด

2.3.1.2.1. การพูดกระทบกระเทือน ส่อเสียด ดูถูก ข่มขู่ โต้แย้ง

2.3.1.3. ด้านพฤติกรรม

2.3.1.3.1. ท่าทีเฉยเมย ต่อต้าน เงียบ เชื่องช้า ไม่ยอมสบตา

2.3.2. กิจกรรมทางการพยาบาล

2.3.2.1. บุคคลต้องเร่งวิเคราะห์ดำเนินการว่าบุคคลมีความเป็นมิตรหรือไม่

2.3.2.2. จัดการกับสิ่งแวดล้อมรอบข้างเพื่อป้องกันอันตราย

2.3.2.2.1. - อาจจะต้องแยกให้จำกัดพฤติกรรมในกรณีที่มีพฤติกรรมรุนแรง

2.3.2.2.2. - เตรียมเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์เพื่อให้การช่วยเหลืออย่างเฉิน

2.3.2.2.3. - ทีมสุขภาพต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะความไม่เป็นมิตร

2.3.2.3. เปิดโอกาสให้บุคคลนั้นๆได้ระบายความรู้สึกคับข้องใจไม่พอใจ

2.3.2.4. สนับสนุนให้บุคคลดังกล่าวพิจารณาการกระทำของตนเอง

3. ผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว(Aggression)

3.1. อารมณ์โกรธ (Anger) พฤติกรรมการแสดงที่เกิดจากอารมณ์โกรธ วิตกกังวล รู้สึกผิด มีจุดมุ่งหมายที่จะคุกคามทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับบาดเจ็บหรือสิ่งแวดล้อมได้รับความเสียหาย

3.2. ลักษณะของผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว

3.2.1. ทางคำพูด

3.2.1.1. ใช้คำพูดตำหนิ ติเตียน วิพากษ์วิจารณ์ พูดในแง่ร้าย

3.2.2. ร่างกาย

3.2.2.1. : มีสีหน้าบึ้งตึง แววตาไม่เป็นมิตร ท่าทางไม่ พอใจ กระวนกระวาย ไม่สนใจเรื่องการกินการนอน

3.3. สาเหตุ

3.3.1. ปัจจัยทางด้านชีวภาพ (Biological factors)

3.3.2. ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)

3.4. วิธีการบำบัดทางการพยาบาล

3.4.1. ประเมินความเสี่ยงผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง

3.4.1.1. คำพูด: เช่นพูดจาถากถางผู้อื่น พูดมากพูดเสียงดัง

3.4.1.2. พฤติกรรม: หน้านิ่วคิ้วขมวด จ้องมองด้วยความโกรธ

3.4.2. การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล

3.4.2.1. 1 สร้างสัมพันธภาพเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกไว้วางใจ

3.4.2.2. 2 ฟังอย่างตั้งใจเปิดโอกาสให้ได้พูดระบายถึงความรู้สึกไม่พอใจออกมา

3.4.2.3. 3 เมื่อความโกรธลดลงให้บุคคลนักสำรวจถึงสาเหตุที่ทำให้รู้สึกโกรธ

3.4.2.4. 4 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการออกแรงเพื่อปลดปล่อยพลังงานส่วนเกิน

3.4.2.5. 5 ให้คำแนะนำถึงวิธีการจัดการกับความโกรธในทางที่เหมาะสม

3.4.2.6. 1 สร้างสัมพันธภาพเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกไว้วางใจ