ฮอร์โมน (Hormones)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ฮอร์โมน (Hormones) by Mind Map: ฮอร์โมน (Hormones)

1. ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)

1.1. เป็นต่อมขนาดใหญ่ของร่างกายอยู่ส่วนหน้าของคอ เป็นกลุ่มมเซลล์กลมๆ ที่มีความหนาชั้นเดียวและมีช่องกลวงตรงกลาง เรียกว่า ไทรอยด์ฟอลลิเคิล ฮอร์โมนสำคัญ

1.1.1. 1. ไทรอกซิน (thyroxin)

1.1.1.1. หน้าที่

1.1.1.1.1. ควบคุมเมตาบอลิซึมของร่างกาย

1.1.2. 2. แคลซิโทนิน

1.1.2.1. หน้าที่

1.1.2.1.1. การลดระดับแคลเซียมในเลือดที่สูงเกินปกติให้เข้าสู่ระดับปกติ

2. ต่อมพาราไทรอยด์(Parathyroid gland)

2.1. หน้าที่

2.1.1. ควบคุมระดับสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกาย

3. ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ

3.1. ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศชาย

3.1.1. แหล่งสร้าง

3.1.1.1. กลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล

3.1.2. ฮอร์โมนสำตัญ

3.1.2.1. เทสโทสเตอโรน

3.1.2.1.1. ควบคุมลักษณะที่สองของเพศชาย เช่น เสียงแตก ลูกกระเดือกแหลม

3.2. ฮอร์โมนเพศหญิง

3.2.1. ฮอร์โมนเอสโตรเจน

3.2.1.1. สร้างมาจากรังไข่และต่อมไร้ท่อ

3.2.1.2. บทบาท

3.2.1.2.1. การขยายของเต้านม เสียงแหลม สะโพกผาย

3.2.2. ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน

3.2.2.1. สร้างมาจากคอร์ปัสลูเทียม

3.2.2.2. บทบาท

3.2.2.2.1. เปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูกชั้นใน

4. ต่อมไพเนียล (Pinea gland)

4.1. ตำแหน่งที่อยู่และรูปร่าง

4.1.1. ต่อมเล็กๆรูปกรวย พบบริเวณกึ่งกลางสมอง

4.2. หน้าที่

4.2.1. ไปยับยั้งการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์

5. ต่อมไทมัส (Thymus gland)

5.1. ตำแหน่งที่อยู่และที่ตั้ง

5.1.1. ลักษณะเป็นพู 2 พู ตรงทรวงอกรอบเส้นเลือดใหญ่ของหัวใจ

5.2. หน้าที่

5.2.1. กระตุ้นการสร้างลิมโฟไซต์ ชนิดที่ทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันและต่อต้านการติดเชื้อโรคได้ดี

6. ฮอร์โมนจากเนื้อเยื่อชั้นในกระเพาะอาหารและลำไส้

6.1. มีเซลล์สำหรับสร้าฮอร์โมนเป็นสารประเภท โปรตีน เพื่อไปกระตุ้นแลละควบคุมการทำงานของอวัยวะที่เกี่ยวกับการย่อยอาหาร

6.1.1. 1. แกสตริน (Gastrin)

6.1.1.1. กระตุ้นให้เกิดการหลั่งน้ำย่อย

6.1.2. 2. ซีครีติน (Secretin)

6.1.2.1. กระตุ้นการบีบตัวของท่อน้ำดี ในขณะที่อาหารกระเพาะอาหารไปยังลำไส้เล็ก

7. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland or hypophysis)

7.1. ลักษณะ

7.1.1. ก้อนสีเทาแกมแดงขนาดเท่าเม็ดถั่วเขียว อยู่ใต้สมองบริเวณหน้ากกหู

7.2. หน้าที่

7.2.1. เป็นผู้ควบคุมการสร้างฮอร์โมนของต่อมไร้ท่ออืนอีกที

7.3. แบ่งเป็น 3 ตอน

7.3.1. ตอนหน้า (Anterior) ตอนกลาง (Intermediate lobe) ตอนท้าย (Posterior lobe) รวมกันเรียกว่า Adenohypophysis

7.3.2. 1. Adenohypophysis

7.3.2.1. 1.1 Growth hormone (GH)

7.3.2.1.1. หน้าที่

7.3.2.2. 1.2 Thyrotrophin(TSH)

7.3.2.2.1. หน้าที่

7.3.2.3. 1.3 Follicle-stimulating hormone (FSH)

7.3.2.3.1. หน้าที่

7.3.2.4. 1.4 Luteining hormone (LH)

7.3.2.4.1. หน้าที่

7.3.2.5. 1.5 Prolatin

7.3.2.5.1. หน้าที่

7.3.2.6. 1.6 Melanocyte-stimulsting hormone (MSH)

7.3.2.6.1. หน้าที่

7.3.3. 2.Neurohypophysis

7.3.3.1. 2.1 Vasopressin (ADH)

7.3.3.1.1. หน้าที่

7.3.3.2. 2.2 Oxytocin

7.3.3.2.1. หน้าที่

8. ตับอ่อน (Pancreas)

8.1. ตับอ่อนมีเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน เรียกว่า เกาะลังเกอร์ (Lslet of Langerhans)

8.1.1. เกาะลังเกอร์ฮานส์

8.1.1.1. 1.เบตาเซลล์

8.1.1.1.1. หน้าที่

8.1.1.2. 2.อัลฟาเซลล์

8.1.1.2.1. หน้าที่

9. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)

9.1. ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น เนื้อเยื่อชั้นนอกเรียกว่า อะดรีนัลคอร์ (Adrenal cortex) ชั้นใน เรียกว่า อะดรีนัลเมดุลลา (Adrenal medulla)

9.1.1. 1. อะดรีนัลคอร์ (Adrenal cortex)

9.1.1.1. 1.1ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอย (Glucocorticoid)

9.1.1.1.1. หน้าที่

9.1.1.2. 1.2ฮอร์โมนมิเนราโลคอร์ติคอยด์

9.1.1.2.1. หน้าที่

9.1.2. 2.ดรีนัลเมดุลลา (Adrenal medulla)

9.1.2.1. 2.1 นอร์อะดรีนาลีนฮอร์โมน

9.1.2.1.1. หน้าที่

9.1.2.2. 2.2 นอร์อะดรีนาลีนฮอร์โมน

9.1.2.2.1. หน้าที่