สรุปวิธีการตรวจและหัตถการของโรคเต้านม กล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อเกี่ยวพันและโรคผิวหนัง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สรุปวิธีการตรวจและหัตถการของโรคเต้านม กล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อเกี่ยวพันและโรคผิวหนัง by Mind Map: สรุปวิธีการตรวจและหัตถการของโรคเต้านม  กล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อเกี่ยวพันและโรคผิวหนัง

1. โรคเต้านม

1.1. การตรวจเต้านม ดูขนาดของเต้านม ลักษณะของหัวนม การคลำ ก้อนเนื้อ

1.1.1. ตรวจด้วย Mammography

1.1.2. ตรวจด้วยตัวเอง แนวก้นหอย แนวดิ่ง แนวรูปลิ่ม

1.2. มะเร็งเต้านม (Breast Cancer)

1.2.1. ลักษณะ ก้อนหนาๆ ไม่มีขอบ ไม่เคลื่อนที่

1.2.2. ปัจจัยเสี่ยง อายุ >25ปี และ >50ปี

1.2.3. อาการ

1.2.3.1. คลำพบก้อนที่เต้านม

1.2.3.2. มีเลือด หรือของเหลวไหลออกจากหัวนม

1.2.3.3. หัวนมมีการหดตัว คัน หรือมีผื่นแดงผิดปกติ ผิวหนังเปลี่ยนแปลง เช่น รอยบุ๋ม ย่น หดตัวหรือมีความหนาผิดปกติ

1.2.3.4. อาการเมื่อแพร่กระจาย ปวดกระดูก , น้ำหนักลด , แขนบวม

1.2.3.5. ขนาดและรูปร่างของเต้านมมีการเปลี่ยนแปลง

1.2.4. การรักษา

1.2.4.1. การผ่าตัด MRM (Modified Radical Mastectomy) เคมีบำบัด (Chemotherapy) การฉายรังสี (Radiation) ยาต้านฮอร์โมน (Endocrine or Hormonal therapy)

2. โรคระบบกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

2.1. การตรวจกำลังกล้ามเนื้อ (Muscle power)

2.1.1. Grade 0 กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต ไม่มีการเคลื่อนไหวหรือหดตัวได้ Grade 1 กล้ามเนื้อไม่มีแรงเคลื่อนไหวข้อ แต่หดตัวได้ Grade 2 กล้ามเนื้อเคลื่อนไหวข้อในแนวราบได้ Grade 3 กล้ามเนื้อเคลื่อนไหวข้อต้านแรงโน้มถ่วงได้ Grade 4 กล้ามเนื้อสามารถต้านแรงกดได้แต่น้อยกว่าปกติ Grade 5 กล้ามเนื้ออยู่ในภาวะปกติ

2.2. การทำงานประสานของแขนและมือ (Arm-Hand Coordination)

2.2.1. Rapid Rhythmic Alternating movement

2.2.1.1. พลิกคว่ำ-หงายมือเร็วๆ

2.2.1.2. ใช้ฝ่ามือตบเบาๆและเร็วๆที่ต้นขาของตนเอง

2.2.1.3. ปลายนิ้วหัวแม่มือแตะปลายนิ้วทั้งสี่เร็วๆ

2.2.2. Point to point

2.2.2.1. ใช้ปลายนิ้วชี้ของตนแตะปลายนิ้วชี้ของผู้ตรวจ

2.3. โรคในระบบกล้ามเนื้อ

2.3.1. ปวดคอ Neck Pain Cervical spondylosis

2.3.1.1. การรักษา

2.3.1.1.1. กายภาพบำบัด Modalities / Exercises

2.3.1.1.2. เครื่องพยุงคอ

2.3.1.1.3. ยา

2.3.1.1.4. การผ่าตัด

2.3.2. ปวดหลัง Back Pain Herniated disk

2.3.2.1. การรักษา

2.3.2.1.1. กายภาพบำบัด Modalities / Exercises

2.3.2.1.2. การใช้ที่พยุงหลัง

2.3.2.1.3. ยา

2.3.2.1.4. การผ่าตัด

2.3.3. หมอนรองกระดูก Lumbar Spondylosis Spondylosis Stenosis Spondylolisthesis Osteoporosis

2.3.3.1. อาการ

2.3.3.1.1. ปวดหลังร้าวลงขาทั้งสองข้างเป็นเวลานาน

2.3.3.1.2. กลางดึกปวดมากจนต้องตื่น เริ่มชาและอ่อนแรงที่ขาทั้งสองข้าง

2.3.3.2. การตรวจ

2.3.3.2.1. MRI

2.3.3.3. การรักษา

2.3.3.3.1. Decompression & Fusion การขยายช่องสันหลัง & การเชื่อมกระดูก

2.3.3.3.2. Vertebroplasty

3. โรคผิวหนัง

3.1. การตรวจทางผิวหนัง

3.1.1. 1. ลักษณะ (Morphology) เป็นหลักสำคัญที่สุด ช่วยให้เลือกกลุ่มโรคของผิวหนังได้

3.1.1.1. รอยโรคแบนราบ (Flat lesion) ไม่สามารถคลำได้ ได้แก่ macule, patch

3.1.1.2. รอยโรคนูน (Raised lesion) สามารถคลำได้ ได้แก่ papule, plaque, nodule, cyst

3.1.1.3. รอยโรคตุ่มน้ำ (Fluid-filled lesion) มีของเหลวในรอยโรคอาจเป็นตุ่มน้ำหรือหนอง ได้แก่ vesicle, bulla, pustule, abscess

3.1.1.4. รอยโรคพื้นผิวขรุขระ (Surface changed lesion) ได้แก่ scale, crust

3.1.1.5. รอยโรคยุบตัว (Depressed lesion) ได้แก่ erosion, ulcer, atrophy, fissure, sinus

3.1.1.6. รอยโรคนูน (Raised lesion) ได้แก่ scar

3.1.2. 2. รูปร่าง (Shape) ประเมินจากรอยโรคเดี่ยวว่ามีลักษณะรูปร่างที่จำเพาะหรือไม่

3.1.2.1. Round Nummular Discoid รอยโรคกลมเหมือนเหรียญ (coin-shaped)

3.1.2.2. Annular รอยโรคกลมนูนที่ขอบ (ring-shaped)

3.1.2.3. Arcuate รอยโรคโค้งไม่ครบวงเหมือนรูปพระจันทร์เสี้ยว (arc-shaped)

3.1.2.4. Polycyclic รอยโรคมีหลายลักษณะรวมกัน มีทั้งครบและไม่ครบวงกลม

3.1.2.5. Targetoid ลักษณะเป็นเป้าคล้ายตา (bulls eye)

3.1.3. 3. การเรียงตัว (Arrangement) ประเมินจากรอยโรคโดยรวมว่ามีการเรียงตัวที่จำเพาะหรือไม่

3.1.3.1. Scattered Discrete กระจายตัวไม่แน่นอน

3.1.3.2. Grouped Confluent อยู่กันเป็นกลุ่ม (crop/cluster)

3.1.3.3. Linear เรียงตัวเป็นเส้นตรง

3.1.3.4. Reticular เรียงตัวเป็นร่างแห

3.1.3.5. Serpiginous เป็นเส้นเหมือนงูเลื้อย

3.1.4. 4. การกระจายหรือตำแหน่ง (Distribution) โรคผิวหนังส่วนใหญ่มีตำแหน่งที่จำเพาะ

3.1.4.1. Dermatomal Zosteriform Herpetiform กระจายตามเส้นประสาท

3.1.4.2. Lymphangitic Sporotrichoid กระจายตามหลอดน้ำเหลือง

3.1.4.3. Sun exposed/protected บริเวณสัมผัสแสงแดง

3.1.4.4. Acral อยู่ที่ส่วนปลายแขน ขา มือ เท้า

3.1.4.5. Intertriginous ตามซอกพับ

3.1.4.6. Generalized Universal กระจายทั่วทั้งตัว

3.1.4.7. Bilateral symmetric สมมาตรระหว่าง 2 ด้านของร่างกาย

3.1.5. เพิ่มเติม

3.1.5.1. 1. สี (Color) บางรอยโรคสี เป็นตัวช่วยในการวินิจฉัยแยกโรค

3.1.5.2. 2. ความแข็ง (Consistency) ได้จากการคลำ ทำให้ทราบพยาธิสภาพเบื้องต้นของรอยโรคได้

3.1.5.3. 3. ตำแหน่งชั้นของผิวหนัง (Anatomical site) ได้จากการคลำ ทำให้ทราบพยาธิสภาพเบื้องต้นของรอยโรคได้เช่นกัน

3.2. Pitting edema การกดบุ๋ม

3.3. Nail เล็บ ดูความผิดปกติของสีที่เปลี่ยนไป Cyanosis ผิวสัมผัส = นิ่ม แข็ง เปราะ รูปร่าง ขนาด = นิ้วปุ้ม Clubbing fingers

3.3.1. การตรวจ Detection of clubbing

3.4. Hair ศีรษะ การกระจายของผม ลักษณะ/ปริมาณของเส้นผม