Elite and Political Leadership

Mind map Elite and Political Leadership 127332 บทที่ 1-3

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Elite and Political Leadership by Mind Map: Elite and Political Leadership

1. บทที่ 3 Approach of Political Elite

1.1. Approach to study

1.1.1. Marxist Approach

1.1.1.1. Economic Determinate (ตัวเเปร)

1.1.1.2. Class & State

1.1.1.2.1. Class วิเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างเศรษฐกิจเเละการผลิต

1.1.1.3. Marx เสนอ Collective ownership การเป็นหุ่นส่วนในกรรมสิทธิ์ร่วม

1.1.1.3.1. Marx มองว่า Communist ยุคสุดท้าย ไม่มี Class ไม่มี State เเต่ในความเป็นจริง ยังมี State เเละ Class มี Elite ใหม่

1.1.2. Non-Marxist Approach

1.1.2.1. Pluralism

1.1.2.1.1. มีพื้นฐานมาจาก Liberal มองว่า สังคมมาก่อนรัฐ เเละสังคมจะเป็นผู้กำหนด Social structure การเเบ่งชนชั้นทางสังคมที่หลากหลาย

1.1.2.2. Democratic

1.1.2.3. Elitism

1.1.2.3.1. สรุป Pluralism สังคมมีอำนาจเหนือรัฐ เชื่อว่า สังคมต้องมี Elite เเต่ Elite ไม่ใช่ผู้ครอบงำทุกอย่าง มีการหมุนเวียนตลอดเเละภาคประชาสังคมจะต้องมีส่วนเข้าไปกำกับดูเเล

2. บทที่ 1 รัฐศาสตร์กับการศึกษาชนชั้นนำเเละผู้นำ

2.1. Elite

2.1.1. Social statification

2.1.1.1. power

2.1.1.2. prestive

2.1.1.3. wealth

2.1.1.4. David&Mooreมองว่าStatificationเป็นสิ่งที่เลี่ยงไม่ได้

2.1.1.5. Kingday David&wilberl E.Moore

2.1.1.5.1. บางอาชีพมีความสำคัญกว่าอาชีพอื่น

2.1.1.5.2. มีคนจำนวนจำกัดที่ทำอาชีพนั้นได้ Talent people

2.1.1.5.3. Talent people ต้องเสียสละเวลาเทรนฝึกฝนเพื่อให้ตัวเองมี Skill

2.1.1.5.4. Talent people เสียสละเวลาได้ต้องมี Motivation

2.1.1.5.5. Privilege + Opportunritiy ในสังคมมีน้อยเพราะทำให้สุขสบายมีครบทุกอย่างได้

2.1.1.5.6. มี Strata เเละ Esteem ที่ต่างกัน

2.1.1.5.7. Social statification เป็นเรื่องดีทำให้คนเเสดงศักยภาพออกมา

2.1.1.6. Melrin M.Tumin

2.1.1.6.1. ขีดวงโอกาสชนชั้นล่างลงมาทำให้ชนชั้นล่างขาดเเรงจูงใจ

2.1.1.6.2. ทำให้ไม่สามารถใข้ความสามารถที่มีอยู่ได้ซึ่งอาจจะมีมากกว่า

2.1.1.6.3. ชนชั้นสูงมีอำนาจทางการเมือง

2.1.1.6.4. เป็นอุปสรรคในการเเจกเเจง self - image

2.1.1.6.5. เป็นปฎิปักษ์ต่อชนชั้นล่างอาจนำไปสู่การปฎิวัติได้

2.1.1.6.6. ชนชั้นสูงมองว่าตัวเองสำคัญถ้าไม่มีชนชั้นสูงชนชั้นล่างจะอยู่ไม่ได้

2.1.2. Sociology

2.1.2.1. Mosca

2.1.2.1.1. มี 2 ชนชั้นในสังคม

2.1.2.1.2. มิติด้านจิตวิทยาเหมือน Pareto เเต่เพิ่ม Moral

2.1.2.1.3. Social organization ผู้นำต้องมีองค์กร เครือข่าย connection

2.1.2.1.4. Social force control of value source

2.1.2.1.5. Political formular มีสูตรทางการเมือง

2.1.2.2. Pareto

2.1.2.2.1. มิติจิตวิทยาความสามารถในการปกครอง

2.1.2.2.2. ชนชั้นปกครอง (Governing elite)

2.1.2.2.3. ชนชั้นถูกปกครอง (Non Governing elite)

2.1.2.3. Mitchell

2.1.2.3.1. เน้นควบคุมองค์กร

2.1.2.4. Weber

2.1.2.4.1. เน้นควบคุมองค์กรขนาดใหญ่

2.1.2.4.2. ทำไมอำนาจบริหารถึงสูงกว่าอำนาจการเมือง

2.1.3. Political Economy

2.1.3.1. Karl Marx

2.1.3.1.1. Eliteคือคนที่ครอบครองปัจจัยการผลิตปัจจัยการเมือง ดูที่ทรัพย์สิน

2.1.3.1.2. ไม่เชื่อใน Democracy เพราะเป็นมายาคติ

2.1.4. Political Science

2.1.4.1. Dahl

2.1.4.1.1. มองที่Powerของบุคคล

2.1.5. ฐานอำนาจ

2.1.5.1. Authority

2.1.5.1.1. Legal rational Authority

2.1.5.2. Material resource

2.1.5.2.1. ทรัพย์สินเงินทอง

2.1.5.2.2. Peter Blaw

2.1.5.3. Non-Material resource

2.1.5.3.1. เกียรติยศ

2.1.5.3.2. ชื่อเสียง

2.1.5.3.3. การเคารพ

2.1.5.3.4. Reference power อยู่ในองค์กร เป็นสมาชิกขององค์กรดีๆ

2.1.5.3.5. Information power

2.1.5.3.6. Expert power

2.1.6. Lasswell

2.1.6.1. Value ขึ้นอยู่กับว่าค่านิยมของสังคมนั้น ว่าให้คุณค่ากับอาชีพหรืออะไร

2.1.6.2. เเบ่งเป็น 3 ชนชั้น

2.1.6.2.1. Elite

2.1.6.2.2. Mid elite

2.1.6.2.3. Mass

2.1.7. Political Elite

2.1.7.1. Elite theory

2.1.7.1.1. สังคมเเบ่งออกเป็นคนกลุ่มๆเล็กๆจำนวนน้อยเเต่มีอำนาจ เเละคนกลุ่มมากเเต่ไม่มีอำนาจ

2.1.7.1.2. คนกลุ่มเล็กมักจะมาจากชนชั้นนำทางเศรษฐกิจ-สังคม

2.1.7.1.3. การเลื่อนสถานะของผู้ที่จะเลื่อนขึ้นไปเป็นชนชั้นนำมันเชื่องช้าเเละจะต้องยอมรับค่านิยมของชนชั้นนำ

2.1.7.1.4. ชนชั้นนำจะมีค่านิยมร่วมกัน คิดว่าตัวเองมีคุณค่ามากกว่าเเละพยายามจะรักษาผลประโยชน์ร่วมกัน

2.1.7.1.5. นโยบายของรัฐไม่ได้สะท้อนความต้องการของประชาชน เเต่เป็นชนชั้นนำ

2.1.7.1.6. มวลชนส่วนใหญ่จะเชื่อยชาทางการเมือง ไม่มีอิทธิพลต่อชนชั้นนำ

2.1.8. Unit of analysis

2.1.8.1. Group

2.1.8.1.1. มีอำนาจมากที่สุดในสังคม

2.2. Bottomore

2.2.1. Functional group elite in society

2.2.1.1. Political elites

2.2.1.1.1. คนที่มีอำนาจทางการเมืองที่เเท้จริง

2.2.1.2. Political class

2.2.1.2.1. กลุ่มคนที่พยายามเข้าไปมีอำนาจทางการเมือง

2.2.1.3. Elites functional group

2.2.1.3.1. political class จะมาจากชนชั้นนำ

2.3. Political Leader

2.3.1. Unit of analysis

2.3.1.1. Individual

2.3.2. Meaning

2.3.2.1. Margaret G. Hermann

2.3.2.1.1. บุคคลที่มีอำนาจชอบธรรมในการจัดสรรทรัพยากรเเละจัดวางเป้าหมายให้สังคม

2.3.2.2. ผู้นำทางการเมือง

2.3.2.2.1. หัวหน้ารัฐบาลเท่านั้น

2.3.2.2.2. เน้นที่ผู้นำฝ่ายบริหารเท่านั้น

2.3.3. Leadership

2.3.3.1. Robert C. Tacker

2.3.3.1.1. ผู้นำจะเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย ซึ่งเป็นการวัด leadership

2.3.3.1.2. ความคิดเเละพฤติกรรมของผู้นำมีผลได้ผลเสียกับคนในสังคม

2.3.3.2. ประเภทผู้นำ

2.3.3.2.1. Public man

2.3.3.2.2. Private man

2.3.3.3. หน้าที่การเป็นผู้นำ

2.3.3.3.1. Decision

2.3.3.4. สรุปวิเคราะห์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา

2.3.3.4.1. Psychological

2.3.3.4.2. Socialogical

3. บทที่ 2 เเนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับชนชั้นนำเเละผู้นำทางการเมือง

3.1. Political Leader & Political leadership

3.1.1. William A. Welsh

3.1.1.1. ภาวะผู้นำคือความสามารถในการระดมทรัพยากรบุคคลในเป้าหมายที่ตั้งไว้ เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้

3.1.1.1.1. คณะรัฐมนตรี ระบบราชการ เเละประชาชน ที่ร่วมมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย

3.1.2. Fukui & Fukai

3.1.2.1. Exercise of power เป็นการเเสดงออกซึ่งอำนาจ

3.1.2.1.1. ผู้นำจะต้องสั่งการให้เกิดการกระทำร่วมมือระหว่าง 3 กลุ่ม ร่วมมือกัน เเสดงว่าเป็นผู้นำที่คน respect มาก

3.1.3. Glenn D. Paige

3.1.3.1. การตัดสินใจเเละการโน้มน้าวใจ

3.1.3.1.1. Persuade จะอาศัย Imagination ไปโน้มน้าวคนอื่น ไม่ใช่ Force เเละเสีย Cost น้อยที่สุด

3.2. Political Leader & Power

3.2.1. ผู้นำทางการเมืองจะต้องมี Power เป็นความสัมพันธ์ 2 ฝ่าย

3.2.1.1. ผู้มีอำนาจ

3.2.1.2. ผู้อยู่ใต้อำนาจ

3.2.2. Concept of power

3.2.2.1. ความสัมพันธ์ของ 2 ฝ่าย ที่ฝ่ายหนึ่งขึ้นตรง Independent กับอีกฝ่าย เเละผู้มีีอำนาจจะสามารถ Sanction บังคับผู้ใต้บังคับบัญชา/ใต้อำนาจ

3.2.2.1.1. Sanction คือ ตำเเหน่งที่เขามีมีอำนาจตามกฎหมายในการสั่งการคนอื่น

3.2.3. การใช้อำนาจจะต้องไม่บังคับเเต่ใช้ 2 หลัก

3.2.3.1. Persuasion

3.2.3.2. Manipulation

3.2.3.2.1. Consensual

3.2.4. Power base / Source of power

3.2.4.1. Position

3.2.4.1.1. การเข้าไปมีตำเเหน่งที่ได้มาซึ่งอำนาจในองค์กรหรือสถาบัน

3.2.4.1.2. Samuel B. Bacharach & Edward J. Lawler

3.2.4.1.3. C. Wright Mills

3.2.4.2. Class

3.2.4.2.1. ผู้นำมักจะมาจากชนชั้นสูง ชนชั้นสูงมักมีอำนาจ

3.2.4.3. Expertise

3.2.4.3.1. ความชำนาญเชี่ยวชาญ จะมีอำนาจตาม value ของสังคม

3.2.4.4. Personality

3.2.4.4.1. Physical appearance

3.2.4.5. Share Attitude

3.2.4.5.1. Lasswell

3.2.4.6. Political Resource

3.2.4.6.1. Robert A. Dahl

3.2.4.6.2. Charles F. Audrain

3.2.4.6.3. Andrew Heywood

3.3. Political Leader & Authority

3.3.1. Charles F. Audrain

3.3.1.1. Right to rule สิทธิธรรมสร้างการยอมรับว่า เป็นคนที่มีอำนาจที่ถูกต้อง คนจะยอมเชื่อฟังไม่ท้าทายอำนาจ สิทธิธรรมจะต้องมี Reference อ้างความชอบธรรม

3.3.1.1.1. เหมา อ้าง Marxist

3.3.1.1.2. คาทอลิก อ้าง God

3.3.2. David Beethan

3.3.2.1. Authority จะมาคู่กับ Legistimacy

3.3.2.1.1. Established rule สร้างความเป็นสถาบันอยู่ยาว ทำให้คนอื่นล้มยาก

3.3.2.1.2. Share belief เเชร์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้ใต้ปกครอง ว่าผู้ปกครองเป็นคนดี มีศีลธรรม คนเชื่อว่าสมควรมีอำนาจ

3.3.2.1.3. Consent การยินยอมพร้อมใจของมวลชน

3.3.3. Max Weber

3.3.3.1. อำนาจตามจารีต

3.3.3.2. อำนาจจากตัวบุคคล เเบบฮีโร่ คนที่มีทักษะที่โด่ดเด่นกว่าคนอื่น

3.3.3.3. อำนาจจากความสมเหตุสมผล เกิด Modern society มีที่มาจากกฎหมาย คือ รัฐธรรมนูญ

3.3.4. Charles F. Audrain

3.3.4.1. เเหล่งอำนาจชอบธรรม

3.3.4.1.1. อำนาจที่เกิดจากจารีตประเพณี

3.3.4.1.2. อำนาจที่มาจากสิ่งศักดิ์ เทพ God

3.3.4.1.3. อำนาจที่เกืดจากตัวบุคคล

3.3.4.1.4. อำนาจที่เกิดจากกฎหมาย

3.4. Political Leader & Political Elite

3.4.1. Leader = Ruler มาจาก Elite มีน้อยที่มาจาก Middle หรือ Mass มาเป็น Leader เเต่พอมาเป็นก็จะทำให้เป็น Elite เเละจะกลายเป็น Elitism

3.4.1.1. การต่อสู้ทางการเมืองเป็นการเเสวงหาอำนาจ เพราะฉะนั้น Elite จะพยายามครอบงำกลุ่มอื่นอยู่เสมอ

3.4.1.2. คนที่มีความคิดโน้มเอียงทาง Elite เขาจะเชื่อมั่นว่าการเปลี่ยนเเปลงทางการเมือง มักเกิดจากผู้นำ Mass ไม่มีความหมาย

3.4.1.3. สังคมมี 2 ชนชั้น

3.4.1.3.1. ผู้ปกครอง

3.4.1.3.2. ผู้ถูกปกครอง

3.4.1.4. ไม่เชื่อว่าประชาธิปไตยมีจริง เพราะอำนาจอยู่ที่ผู้นำ คนที่อยู่ไกลจากผู้นำก็จะไกลจากอำนาจ

3.4.2. Radical

3.4.2.1. สังคมมี 2 ชนชั้น

3.4.2.1.1. ผู้กดขี่ (ปกครอง) คุมปัจจัยการผลิต

3.4.2.1.2. ผู้ถูกกดขี่

3.4.2.1.3. 2 ชนชั้นนี้จะมีความขัดเเย้งกัน จนผู้ถูกกดขี่จะลุกขึ้นมาโค้นล้มผู้กดขี่

3.4.2.2. เชื่อว่าชัยชนะจะเป็นของผู้ถูกกดขี่ เเละผู้นำของ Mass จะกลายเป็น New elite เช่น เหมา สตาลิน

3.5. Political Leader & Legistimacy

3.5.1. Andrew Heywood

3.5.1.1. ความชอบธรรมเป็นการเเปลงอำนาจดิบ(ไม่มีใครรองรับ)เป็นอำนาจชอบธรรม เช่น มีกฎหมาย

3.5.2. Charles F. Audrain

3.5.2.1. ความชอบธรรมเป็น Attitude ของมวลชนที่มีต่อผู้นำ ถ้ามวลชนมองผู้นำดีเขาจะ Consent เเต่ถ้ามองไม่ดีจะไม่ยอมรับ

3.6. Key Concept

3.6.1. Leadership

3.6.2. Power

3.6.3. Authority

3.6.4. Elite

3.6.5. Legistimacy