
1. ตอนที่ 3
1.1. นำสารละลาย 0.4 โมล โคบอลต์(ll)คลอไรด์มา 2.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใส่ในขอดรูปชมพู่ขนาด 150 ลูกบาศก์เซนติเมตร เติมกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นลงไป 30 หยด เขย่าให้เข้ากัน สารละลายที่ได้จะมีสีม่วง
1.2. แบ่งสารละลายสีม่วงใส่ในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอดละเท่าๆกัน หลอดที่ 1 นำไปแช่ในน้ำเย็น หลอดที่ 2 นำไปแช่ในน้ำร้อน อุณหภูมิประมาณ 80-90 องศา หลอดที่ 3 วางไว้ที่อุณหภูมิห้อง บันทึกผลที่เปลี่ยนแปลง
2. อุปกรณ์และสารเคมี
2.1. หลอดทดลองขนาด 10 และ 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร , ขวดรูปชมพู่ขนาด 150 ลูกบาศก์เซนติเมตร , บีกเกอร์ขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร , กระบอกตวงขนาด 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร , เทอร์โมมิเตอร์ , กระดาษกรอง
2.2. สารละลายโคบอลต์(ll)คลอไรด์ , สารละลายโคบอลต์(ll)ไนเตรต , สารละลายโคบอลต์(ll)ไนเตรตในเอธานอล , โดบอลต์(ll)คลอไรด์เฮกซะไฮเดรต , โคบอลต์(ll)ไนเตรตเฮกซะไฮเดรต
2.3. เอธานอล ,อะซิโตน , กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น
3. วิธีทดลอง
3.1. ตอนที่ 1
3.1.1. บันทึกสีของสารที่อยู่ในรูปของแข็ง
3.1.2. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่ใช้เอธานอล และอะซิโตนเป็นตัวทำละลายแทนน้ำ บันทึกสีของสารละลาย อธิบายผลการทดลองโดยใช้หลักของสมดุลเคมี
3.2. ตอนที่ 2
3.2.1. นำสารละลาย0.4โมล โคบอลต์(ll)ไนเตรตในน้ำมา 2.5 ลูกบาศก์เซนติเมตรเข้มข้นลงไปครั้งละ 20 หยด เขย่าให้เข้ากันทุกครั้งที่เติมกรดลงไป บันทึกของสารละลายหลังจากเติมกรดแต่ละครั้ง
3.2.2. นำสารละลายจากข้อ 1 มาเติมน้ำกลั่นครั้งละ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3 ครั้ง บันทึกสีของสารละลายหลังจากเติมน้ำกลั่นแต่ละครั้ง
3.2.3. นำหลอดทดลองมา 2 หลอด หลอดหนึ่งใส่โคบอลต์(ll)คลอไรด์เฮกซะไฮเดรต 2-3 ผลึก อีกหลอดหนึ่งใส่โคบอลต์(ll)ไนเตรตเฮกซะไฮเดรต 2-3 ผลึก เตือมน้ำกลั่นหลอดละ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เขย่าให้ละลายบันทึกสีของสารละลาย
3.2.4. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 1 และข้อ 2 โดยใช้ 0.4 โมล โคบอลต์(ll)ไนเตรตในเอธานอล 2.5 ลูกบาศก์เซนติเมตรแทน แต่เติมกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นลงไปครั้งละ 20 หยด
3.2.5. เปรียบเทียบของคลอไรด์ที่ต้องการใช้ในการทำให้สารละลายเกิดสีน้ำเงินในสารละลายที่มีแอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายกับสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย