ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2 (ความร้อนของปฏิกิริยาเคมี)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2 (ความร้อนของปฏิกิริยาเคมี) by Mind Map: ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2 (ความร้อนของปฏิกิริยาเคมี)

1. วัตถุประสงค์

1.1. 1.เพื่อหาค่าความจุความร้อนของแคลอริมิเตอร์

1.2. 2.เพื่อหาค่าความร้อนของปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดแก่กับเบสแก่

2. หลักการ

2.1. แคลอริมิเตอร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความร้อนในปฏิกิริยาเคมีในแง่ของความร้อน

2.2. แบ่งเป็นสองแบบ คือ ปฏิกิริยาคายความร้อนและปฏิกิริยาดูดความร้อน

2.3. โดยความร้อนที่ได้จะใช้พื้นฐานของเรื่องเคมีความร้อน โดยพลังงานความร้อนปฏิกิริยาจะเรียกว่า "ความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยา"

3. วิธีการทดลอง

3.1. การหาค่าความร้อนจำเพาะของแคลอริมิเตอร์

3.1.1. นำแคลอริมิเตอร์พร้อมแท่งกวนมาชั่งและบันทึกน้ำหนัก

3.1.2. ตวงน้ำเย็น 25 ลบ.ซม.ด้วยกระบอกตวงแล้วเทลงในแคลอริมิเตอร์ นำไปชั่งน้ำหนักและวัดอุณหภูมิ

3.1.3. ใช้เทอรโมมิเตอร์อีกอันวัดอุณหภูมิน้ำร้อน โดยให้อุณหภูมิสูงกว่าน้ำเย็น 40 องศาเซลเซียลแล้วเทน้ำร้อนผสมน้ำเย็น กวนตลอดเวลาพร้อมทั้งวัดอุณหภูมิทุกๆ 10 วินาที

3.1.4. ชั่งแคลอริมิเตอร์รวมทั้งน้ำร้อนที่เติมลงไป หาอุณหภูมิจากการพลอตกราฟ คำนวณหาค่าความร้อนของแคลอริมิเตอร์

3.1.5. ทำการทดลองซ้ำอีกครั้ง

4. การทดลอง

4.1. สารเคมี

4.1.1. 5 M HCl

4.1.2. 5 M NaOH

4.2. อุปกรณ์

4.2.1. เทอร์โมมิเตอร์ขนาด 100องศาเซลเซียล

4.2.2. แท่งกวนแบบวงแหวน

4.2.3. ถ้วยพลาสติกหุ้มด้วยโฟม

4.2.4. บีกเกอร์ขนาด 50 และ 400

4.2.5. ปิเปตขนาด1 ลูกบาศก์เซนติเมตร