อัตราการเกิดปฏิกิริยา
by duangkamon khokkham
1. กฏอัตรา(rate law)
1.1. อุณภูมิมีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาโดยทำให้ค่าคงที่อัตราเปลี่ยนไป
2. สมการที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา
2.1. สมการอาร์เรเนียส
2.2. สมการดิฟเฟอเรนเชียล
3. สารเคมีที่ใช้ในการทดลอง
3.1. แอมโมเนียมเปอร์ซัลเฟต
3.2. โพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI)
3.3. โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl)
3.4. แอมโมเนียมซัลเฟต
3.5. โซเดียมไทโอซัลเฟต
3.6. คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต
3.7. น้ำแป้ง
4. จลนพลศาสตร์(Chemical Kinetics)
4.1. เป็นการศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาและกลไกการเกิดปฏิกิริยา
4.2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาวัดได้จากการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่อหน่วยเวลา
5. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
5.1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น
5.2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
5.3. อุณภูมิ
5.4. ตัวเร่ง(catalyst)
6. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
6.1. 1.ขวดรูปชมพู่(erlenmeyer flask ) ขนาด250 ลบ.ซมและ 50ลบ.ซม อย่างละ 5 ใบ
6.2. 2.ปิเปต (pipette) ขนาด 10 ลบ.ซม
6.3. 3.เทอร์โมมิเตอร์
6.4. 4.นาฬิกาจับเวลา