พรบ.การจัดการศึกษา สำหรับคนพิการ 2551

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พรบ.การจัดการศึกษา สำหรับคนพิการ 2551 by Mind Map: พรบ.การจัดการศึกษา  สำหรับคนพิการ  2551

1. หมวด 1 สิทธิและหน้าที่ ทางการศึกษา

1.1. มาตรา 5

1.1.1. ได้รับการศึกษาฟรีตั้งแต่เกิดหรือเมื่อพบความพิการตลอดชีวิต

1.1.2. สามารถเลือกสถานศึกษาตามความถนัดได้

1.1.3. ได้รับการศึกษาที่มีคุณถาพและเหมาะกับผู้พิการแต่ละบุคคล

1.2. มาตรา 6 ครูการศึกษาพิเศษจะได้รับเงินค่าตอบแทนตามรัฐกำหนดทุกสังกัด

1.3. มาตรา 7 สถานศึกษาหรือศูนย์การเรียนเฉาะของผู้พิการจะได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล

1.4. มาตรา 8

1.4.1. สถานศึกษาทุกสังกัดปรับปรุงแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลโดยให้เหมาะสมกับผู้พิการ

1.4.2. สถานศึกษาใดปฎิเสธไม่รับผู้พิการเข้าเรียนถือว่าผิดกฎหมาย

1.4.3. ให้หน่วยงานหรือสถานศึกษาดูแลผู้พิการให้ได้รับการศึกษาทุกระดับ

1.5. มาตรา 9

1.5.1. ให้รัฐจัดเงินสนับสนุนเพื่อส่งเสริมการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

1.5.2. เพื่อให้ครู บุคลากรให้มีความรู้ เข้าใจในการจัดการศึกษาแก่ผู้พิการ

1.5.3. รวมถึงจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรพิเศษอื่นๆให้เมาะสม

1.6. มาตรา 10 ให้ราชการส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนด เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาแก่ผู้พิการ

2. หมวด 2 การส่งเสริมการ จัดการศึกษา สำหรับคนพิการ

2.1. มาตรา 11 ให้มีคณะกรรมการส่ง เสริมการจัดการศึกษา สำหรับคนพิการ

2.1.1. รัฐมนตรีกะทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน

2.1.2. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธาน

2.1.3. กรรมการโดยตำแหน่ง 10 คน

2.1.4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 13 คน (แต่งตั้งโดยรัฐมนตรี)

2.2. มาตรา 12 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ จัดทำแผน กิจกรรม นโยบาย ยุทธศาสตร์ ให้คำปรึกษา วางระเบียบ เกณฑ์ ข้อกำหนด ประกาศคำสั่ง ส่งเสริม วงแผนการเงิน วางระเบียบ กำหนดมาตราฐานในการรับรองสถานศึกษาทั้งรัฐและเอกชน

2.3. มาตรา 13

2.3.1. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี และอาจจะได้ แต่งตั้งอีกได้ แต่ต้องไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน

2.3.2. มื่อครบกำหนด 3 ปี ให้ดำเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ภายใน 60 วัน

2.4. มาตรา 14

2.4.1. นอกจากการพ้นจากตำแหน่งวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเเมื่อ

2.4.1.1. ตาย

2.4.1.2. ลาออก

2.4.1.3. เป็นบุคคลล้มละลาย

2.4.1.4. เป็นคนไร้ความสามารถ

2.4.1.5. ได้รับโทษจำคุก

2.4.1.6. บกพร่องหรือไม่สุจริต

2.5. มาตรา 15

2.5.1. ในกรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นตำแหน่งก่อนครบวาระ รัฐมนตรีอาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ว่าง

2.5.2. ผู้ที่มาดำรงตำแหน่งแทน ต้องอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ที่ตนมาแทน

2.5.3. ถ้าวาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลืออยู่ ไม่ถึง 60 วัน ไม่ต้องดำเนินการแต่งตั้ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ได้

2.6. มาตรา 16

2.6.1. ต้องมีกรรมการอย่างน้อย ครึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมดจึงจะประชุมได้

2.6.2. ประธานไม่อยู่ให้รองประธานเป็นประธานการประชุมแทน

2.6.3. ถ้ารองไม่อยู่ให้ตั้งกรรมการ 1 คนเป็นประธาน

2.6.4. ตัดสินการประชุมด้วยเสียงส่วนมาก 1 คน 1 เสียง

2.6.5. เสียงเท่ากันให้ประธาน ออกเสียงเพิ่มอีกเสียงเป็นการชี้ขาด

2.7. มาตรา 17 คณะกรรมการแต่งตั้งอนุกรรมการให้ทำงานตามมอบหมายได้

2.8. มาตรา 18 สำนักงานบริหารงานศึกษาพิเศษมีหน้าที่ ส่งเสริม สนันสนุน วิจัย จัดสรร ประสาน ให้มีการจัดการศึกษาคนพิการอย่างมีคุณภาพ

2.9. มาตรา 19

2.9.1. ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีหน้าที่จัดการเรียนร่วม (ศึกษาในระบบ)

2.9.2. พื่อให้ผู้พิการได้รับการศึกษาทั่วถึงและมีคุณภาพตามที่ กฎหมายกำหนด

2.10. มาตรา 20 ให้สถานศึกษาเฉพาะผู้พิการ(ศึกษานอกระบบ)ของรัฐมีหน้าที่ จัดการ ศึกษาตามความอัธยาศัยแก่คนพิการ โดยมีฐานะเป็นิติบุคคล

3. หมวด 3 กองทุนส่งเสริมและ พัฒนาการศึกษา สำหรับคนพิการ

3.1. มาตรา 21

3.1.1. กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา สำหรับ คนพิการ โดยมี 7 กองทุน

3.1.1.1. เงินและทรัพย์สินที่โอนมาจากกองทุนการศึกษาสำหรับคนพิการ (1)

3.1.1.2. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล (2)

3.1.1.3. เงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3)

3.1.1.4. เงินรายได้จากการออกสลากหรือการจัดกิจกรรม (4)

3.1.1.5. ดอกผลและผลประโยชน์ที่เกิดจากเงินหรือทรัพสินของกองทุน (5)

3.1.1.6. เงินหรือทรัพย์สินจากผู้บริจาค (6)

3.1.1.7. รายได้บางส่วนจากภาษีที่เป็นสาเหตุความพิการ (7)

3.2. มาตรา 22

3.2.1. คณะกรรมการต้องมี

3.2.1.1. เลขาธิการคณะกรรมการขั้นพื้นฐานเป็นประธานกรรมการ

3.2.1.2. รองเลขาธิการคณะการกรรมขั้นพื้นฐานเป็นรองประธานคนที่1

3.2.1.3. ผู้ทรงคุณวุฒิผู้แทนคนพิการ1คนเป็นรองประธานคนที่2

3.2.1.4. มีคณะกรรมการจากสำนักงานต่างๆอีก11คน (ตามประเภทคนพิการ)

3.2.1.5. ผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาพิเศษเป็นกรรมการและเลขานุการ

3.3. มาตรา 23

3.3.1. คณะกรรมการกองทุนมีอำราจหน้าที่

3.3.1.1. บริหารกองทุน (ดำเนินการ,หาประโยชน์,จัดกองทุน) ตามระเบียบกำหนดและเห็นชอบโดยกระทรวงการคลัง

3.3.1.2. อนุมัติการจ่ายเงิน ส่งเสริมจัดการศึกษา(คนพิการ)

3.3.1.3. รายงานสถานะทางการเงินและกองทุน

3.3.1.4. แต่งตั้งอนุกรรมการหรือคณะทำงาน

3.4. มาตรา 24 จัดทำงบการเงิน ส่งให้ผู้ตรวจสอบบัญชี ภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันสิ้นปี

3.5. มาตรา 25 สำนักการแผ่นดินเป็นผู้ตรวจบัญชี ทุกรอบปัและทำรายงาน

3.6. มาตรา 26 ให้นำมาตรา 13 14 15 16 มาใช้ในการแต่งตั้ง และพ้นจากตำแหน่ง

4. บทเฉพาะสากล

4.1. มาตรา 27 เมื่อ พรบ.นี้บังคับใช้แล้ว โอนทุกอย่างของกองทุนการศึกษาสำหรับคน พิการไปเป็นของกองทุนตาม พรบ.นี้

4.2. มาตรา 28 วาระแรกถ้ายังไม่มีการแต่งตั้งก.ส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคน พิการ ให้ก.ส่งเสริมการศึกษาพิเศษ ทำหน้าที่แทนภายใน 1 ปี

4.3. มาตรา 29 ครูที่ผ่านอบรม ครูการศึกษาพิเศษก่อนประกาศใช้ พรบ.ฉบับนี้เป็นครู การศึกษาพิเศษตาม พรบ.นี้