ธรรมชาติของภาษาไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ธรรมชาติของภาษาไทย by Mind Map: ธรรมชาติของภาษาไทย

1. ธรรมชาติของภาษา

1.1. ภาษา เป็นเครื่องมือที่คนในสังคมใช้สื่อสารกัน เพื่อแสดงความคิด ความต้องการ การโน้มน้าวใจ การจดบันทึก การถ่ายทอดความรู้ ขนบธรรมเนียมประเพณีจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง

1.2. ความหมายของภาษา

1.2.1. ความหมายทั่ว ๆ ไป คือ กริยาอาการต่าง ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร อาจเป็นระหว่างคนกับคน หรือคนกับสัตว์ก็ได้

1.2.2. พจนานุกรมราชฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำจำกัดความของภาษาว่า “ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงกา เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม”

1.3. ประเภทของภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร

1.3.1. วัจนภาษา หมายถึง ภาษาที่สื่อสารด้วยถ้อยคำ ตามระบบกฎเกณฑ์ทางภาษา ทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน สื่อสารผ่านการฟัง พูด อ่าน เขียน

1.3.2. อวัจนภาษา หมายถึง ภาษาที่ไม่ใช่ถ้อยคำ แต่เป็นการสื่อสารผ่าน ท่าทาง สายตาน้ำเสียง สัญลักษณ์ สิ่งของ วัตถุ สัมผัส ตามช่วงเวลา ให้รับรู้และเข้าใจกัน

1.3.3. ความสัมพันธ์ระหว่างวัจนภาษากับอวัจนภาษา

1.3.3.1. การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันของมนุษย์ไม่สามารถแยกวัจนภาษากับอวัจนภาษาออกจากกันได้เด็ดขาด เช่น ในขณะที่เราพูด คือ การใช้วัจนภาษา และมักจะใช้อวัจนภาษา (ท่าทาง) ประกอบการพูดเสมอ ภาษาที่ใช้ถ้อยคำและไม่ใช่ถ้อยคำจึงมีความสำคัญเท่า ๆ กัน การสื่อสารที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน บางครั้งเกิดขึ้นโดยไม่ใช้คำพูด เช่น กวักมือ การเลิกคิ้ว ฯลฯ เป็นอวัจนภาษาที่เราต้องเรียนและสังเกตจากผู้ที่เราสื่อสารด้วย

1.3.3.2. การสื่อสารของคนเราอาจต้องใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษาไปพร้อมกันในลักษณะตรงกัน เสริมกัน แย้งกัน เน้นกัน เพื่อให้การสื่อสารบรรลุเป้าหมาย

2. ลักษณะทั่วไปของภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร

3. พลังของภาษา

4. ลักษณะของภาษาไทย

5. วัฒนธรรมและภาษา

6. พันธกิจของภาษา

7. การเปลี่ยนแปลงภาษา

8. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด

9. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับเหตุผล