การแยกสลายด้วยไฟฟ้า

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การแยกสลายด้วยไฟฟ้า by Mind Map: การแยกสลายด้วยไฟฟ้า

1. ปริมาณไฟฟ้าที่เกิดขึ้น

1.1. Q= It

1.1.1. Q= ปริมาณไฟฟ้า(คูลอมบ์)

1.1.2. I=กระแสไฟฟ้าที่มีอยู่ในวงจร(แอมแปร์)

1.1.3. t= เวลาที่กระแสไฟฟ้าอยู่ในวงจร(วินาที)

2. คือ การทำให้เซลล์ไฟฟ้าที่มีค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่เป็นลบ สามารถเกิดปฎิกิริยาได้ โดยอาศัยแหล่งพลังงานจากภายนอก

2.1. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

2.2. เกิดปฎิกิริยาเคมีขึ้น

3. อุปกรณ์และสารเคมี

3.1. บีกเกอร์ขนาด 250 ลบ.ซม

3.2. กระบอกตวง 50 ลบ.ซม

3.3. บิวเรตขนาด 50 ลบ.ซม

3.4. ขั้วไฟฟ้าที่ทำด้วยลวดนิโครมที่มีหลอดหุ้ม

3.5. ขั้วไฟฟ้าที่ทำด้วยลวดทองแดง

3.6. นาฬิกาจับเวลา

3.7. แอมป์มิเตอร์

3.8. เครื่องจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง

3.9. ไม้บรรทัด

3.10. สารเคมี

3.10.1. กรดซัลฟุริก ความเข้มข้น 0.5 M

4. วัตถุประสงค์

4.1. ศึกษาการแยกสลายด้วยไฟฟ้าของน้ำ

4.2. ศึกษาหลักการของกระบวนการแยกสลายด้วยไฟฟ้า

4.3. หาน้ำหนักอะตอมของ Cu ด้วยกระบวนการแยกสลายสารด้วยไฟฟ้า

5. ส่วนประกอบต่างๆของเซลล์ไฟฟ้า

5.1. เรียกว่า เซลล์อิเล็กโทรไลต์

5.2. ขั้วไฟฟ้า

5.2.1. ขั้วแคโทด

5.2.2. ขั้วแอโนด

5.3. สารละลายอิเล็กโทรไลต์

5.3.1. Lab นี้ใช้สารละลายกรดซัลฟุริก

5.3.2. มีสมบัตินำไฟฟ้าได้ดี

5.3.3. สะพานไอออน

5.3.3.1. ทำหน้าที่ แลกเปลี่ยนไอออนของปฎิกิริยาเคมี

5.3.4. เป็นตัวกลางให้กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านตัวนำไฟฟ้าได้

5.3.4.1. กระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วแคโทดไปแอโนด

5.4. แหล่งให้พลังงาน

5.4.1. ให้พลังงานเพื่อทำให้ปฎิกิริยาเคมีสามารถเกิดขึ้นได้

5.4.2. เพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

5.4.3. แอมป์มิเตอร์100x2mA

5.5. ขั้วไฟฟ้า

5.5.1. แคโทด

5.5.1.1. ขั้วที่เกิดปฎิกิริยา Reduction

5.5.2. แอโนด

5.5.2.1. ขั้วที่เกิดปฎิกิริยา Oxidation

6. การทดลอง