
1. วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อศึกษาลักษะณทั่วไปของสถานะสมดุล (Equilibrium State)
1.2. เพื่อสึกษาผลของความเข้มข้นและอุณภูมิต่อสถานะสมดุล
2. สมดุลไดนามิก (Dynamic equilibrium)
2.1. เทื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ จะเกิดสภาวะสมดุล ซึง่ที่สภาวะสมดุลนั้น สมบัติทางกายภาพของระบบจะคงที่ แต่ไม่หนุดนิ่ง ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
3. หลังของเลอชาเตอลิเยร์
3.1. ถ้ารบกวนสมดุลของระบบ(เปลี่ยนความเข้มข้น, ความดัน, อุณหภูมิ) ระบบจะเสียสมดุลไปแล้วจะปรับตัวให้เข้าสู่สถานะสมดุลใหม่อีกครั้ง โดยการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ทำให้การรบกวนลดลง
4. อุปกรณ์และสารเคมี
4.1. ขวดรูปชมพู่ขนาด 150 ml
4.2. บีกเอกร์ขนาด 50 ml
4.3. กระบอกตวงขนาด 10 ml
4.4. เทอร์โมมิเตอร์
4.5. กระดาษกรอง
4.6. CoCl2.6H2O
4.7. Co(NO3)2.6H2O
4.8. สารละลาย 0.4 M CoCl2
4.9. สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2
4.10. สานละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ในเอะนอล
4.11. เอธานอล
4.12. อะซิโทน
4.13. กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น
5. วิธีทดลอง
5.1. ตอนที่ 1
5.1.1. บันทึกสีของ CoCl2.6H2O และ Co(NO.)2.6H2O ที่อยู่ในรูปของแข็ง
5.1.2. นำหลอดทดลอง 2 หลอด หลอดหนึ่งใส CoCl2.6H2O 2-3 ผลึก อีกหลอดหนึ่งใส่ Co(NO3)2.6H2O 2-3 ผลึก เติมนำกลั่นหลอดละ 1 ml
5.1.3. ทำรทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่ใช้เอธานอล และอซิโทน เป็นตัวทำละลายแทนนำ
5.2. ตอนที่ 2
5.2.1. นำสารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ในน้ำมา 2.5 ml ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 150 ml เติมกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น ลงไปครั้งลำ 20 หยด เขย่าให้เข้ากันทุกครั้งที่เติมกรดลงไป
5.2.2. นำสารละลายจากข้อ 1 มาเติมน้ำกลั่นครั้งละ 2 ml 3 ครั้ง
5.2.3. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 1 และข้อ 2 โดยใช้ 0.4 M Co(NO3)2 ในเอธานอล 2.5 ml แทน แต่ เติมกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นลงไปครั้งละ 0.1 ml หรือ 2 หยด บันทึกผลในช่อง (ข) ในตางรางที่ 2.1 และนำมาเติมนำกลั่นครั้งละ 0.1 ml หรือ 2 หยด
5.2.4. เปรียบเทียบปริมาณของคลอไรด์ที่ต้องการใช้ในการทำให้สารละลายเกิดสีน้ำเงิน ในสารละลายที่มีแอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายกับสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย
5.3. ตอนที่ 3
5.3.1. นำสารละลาย 0.4 M CoCl2 มา 2.5 ml ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 150 ml เติมกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นลงไป 30 หยด เขย่าให้เข้ากัน
5.3.2. แบ่งสารละลายสีม่วงใส่ในหลอดทดลอง 3 หลอดหลอดละเท่าๆกัน หลอดที่1 นำไปแช่ในนำแข็ง หลอดที่2 นำไปแช่ในน้ำร้อน หลอดที่ 3 วางไว้ที่อุณภมฺห้อง บันทึกผล