ปฏิบัติการเรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายเเละความสามารถในการละลายของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฏิบัติการเรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายเเละความสามารถในการละลายของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์ by Mind Map: ปฏิบัติการเรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายเเละความสามารถในการละลายของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์

1. 1.ขวดรูปชมพู่ ขนาด 250 cm3

2. 4.ปิเปตขนาด 5cm3 เเละ 25cm3

3. 6.กระบอกตวงขนาด 10 cm3

4. วัตถุประสงค์

4.1. เพื่อหาค่าคงที่ของการละลายเเคลเซียมไฮดรอกไซด์

4.2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของไอออนร่วมที่มีต่อสมดุลเเคลเซียมไฮดรอกไซด์

5. เครื่องมือเเละอุปกรณ์

5.1. 2.บิวเรต

5.2. 3.กรวยเเก้วเเละกระดาษกรองเบอร์1

6. สารเคมี

6.1. 1.สารละลายอิ่มตัวของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์(sat.Ca(OH)2 olution)เตรียมโดยการละลายเเคลเซียมไฮดรอกไซด์3กรัม ในน้ำ1ลิตร

6.2. 2.สารละลายกรดเหลือเจือจางความเข้มข้น 1.0*10-2 โมลต่อลิตร

6.3. 3.สารละลายฟีนอล์ฟธาลีน

6.4. 4.ผงเเคลเซียมคลอไรด์

7. ตอนที่1 เตรียมสารละลายอิ่มตัวของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์ในน้ำกลั่น โดยการเติมผงเเคลเซียมไฮดรอกไซด์ 3กรัมในน้ำ1ลิตร กวนเเล้วตั้งทิ้งไว้ให้ตะกอนนอนก้นอย่างน้อย1ชั่วโมงก่อนการทดลองกรองสารละลายด้วยกระดาษกรองเพื่อใช้เฉพาะส่วน

8. การหาความสามารถในการละลายหรือละลายได้ของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์เเละความเข้มข้นของ OH- ในสารละลายอิ่มตัวเเคลเซียมไฮดรอกไซด์

8.1. บรรจุสารละลายมาตรฐานกรดเกลือเจือจาง ลงในบิวเรต

8.2. ปิเปตสารละลายส่วนใสที่ผ่านการกรองจากตอนที่1มาใส่ในขวดรูปชมพู่ 2ใบ เติมน้ำกลั่น

8.3. เติมฟีนอล์ฟธาลีนอินดิเคเตอร์ลงไป1หยด

8.4. ไทเทรตสารละลายเเต่ละขวดด้วยสารละลายมาตรฐานกรดเกลือเจือจางที่เตรียมไว้เเล้วในบิวเรตเมื่อถึงจุดยุติ สารละลายเดิมสีชมพู จะเปลี่ยนเป็นสีใส ไม่มีสี

8.5. บันทึกปริมาตรสารละลายมาตรฐานกรดเกลือที่ใช้ไทเทรตสารละลายในขวดรูปชมพู่เเต่ละใบ

9. 5.บีกเกอร์ขนาด 250cm3

10. บทนำ

10.1. สารละลายอิ่มตัว ของสารประกอบไอออนิกใดๆที่ละลายน้ำได้น้อยจะเกิดการสมดุลระหว่าง เกลือส่วนที่ละลายซึ่งจะเเตกตัวเป็นไอออนหมด กับที่อยู่ในรูปของของเเข็งอยู่ในสารละลาย มีค่าคงที่ ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ การละลายของเกลือจะลดลงถ้าเพิ่มความเข้มข้นของไอออนบวกหรือไอออนลบ ที่เรียกว่า ไอออนร่วม ลงไป เพราะจะทำให้สมดุลของการละลายเกิดการเปลี่ยนเเปลงย้อนกลับมาทางซ้ายมากขึ้นเป็นไปตามหลักของเลอชาเตอลิเยร์ที่ว่าด้วยผลของไอออนร่วม

11. การทดลอง