ปฏิบัติการที่7 Electrolysis

Just an initial demo map, so that you don't start with an empty map list ...

马上开始. 它是免费的哦
注册 使用您的电邮地址
ปฏิบัติการที่7 Electrolysis 作者: Mind Map: ปฏิบัติการที่7  Electrolysis

1. วิธีการทดลอง

1.1. 1.นำลวดทองแดงและลวดนิโครมมาขัดให้สะอาดด้วยกระดาษทราย

1.1.1. นำไปชั่งให้รู้น้ำหนักที่แน่นอน บันทึกน้ำหนักไว้

1.2. 2.จัดตั้งอุปกรณ์ โดยงอลวดทองแดงและลวดนิโครมจากนั้นนำมาสอดเข้าที่ปลายบิวเรตที่คว่ำอยู่ในบีกเอร์ขนาด 250 ลบ.ซม.โดยให้ปลายลวดทองแดงเสมอกับลวดนิโครม

1.3. 3.เติมสารละลาย 0.5 M H2SO4 จำนวน 150 ลบ.ซม. ลงในบีกเกอร์

1.4. 4.ดูดสารละลายกรดในบีกเกอร์ให้เข้ามาอยู่ในบิวเรต โดยการไขกีอกปิดเปิดของบิวเรตแล้วใช้ลูกยางดูดสารละลายจนกระทั่งระดับสารละลายกรดในบิวเรตสูงขึ้นไปประมาณขีดปริมาตร 45-50 ลบ.ซม. บันทึกระดับที่แน่นอน

1.5. 5.ใช้คลิปที่ต่อเข้ากับขั้วลบของเครื่องจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงเข้าที่ลวดนิโครม และคลิปที่ต่อผ่านแอมป์มิเตอร์คีบเข้าที่ลวดทองแดง

1.6. 6.จ่ายไฟให้กับระบบ พร้อมกับเริ่มจับเวลาทันที

1.7. 7.ปรับปุ่มของตัวต้านทานที่ปรับค่าได้ จนเข็มของแอมป์มิเตอร์อ่านค่าได้200mA ในขั้นนี้จะสังเกตเห็นก๊าซไอโดรเจนเกิดขึ้นที่ลวดนิโครม

1.7.1. เมื่อเวลาผ่านไปมากขึ้นอาจพบว่ามีตะกอนทองแดงเกิดขึ้นด้วย

1.8. 8.ปล่อยให้ปฏิกริยาดำเนินต่อไปพร้อมทั้งคอยควบคุมกระแสไฟฟ้าให้คงที่ โดยการปรับตัวต้านทานที่ปรับค่าได้ โดยเก็บก๊าซไฮโดรเจนให้ได้ปริมาณ 30 ลบ.ซม. แล้วหยุดการทดลอง

1.9. 9.อ่านระดับของสารละลายที่เหลือในบิวเรต วัดความสูงของสารละลายที่เหลือโดยใช้ไม้บรรทัด บันทึกเวลาการใช้การทดลอง บันทึกผลการทดลอง

1.10. 10.วัดอุณหภูมิห้อง ใช้ความดันบรรยากาศ

1.11. 11.หาน้ำหนักอะตอมของทองแดงจากปริมารไฟฟ้าที่ใช้

1.12. 12.หาน้ำหนักอะตอมของทองแดงจากปริมารก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น

1.13. 13.หาความผิดพลาดเป็นร้อยละของน้ำหนักอะตอมทองแดง

2. วัตถุประสงค์

2.1. 1.เพื่อศึกษาหลักการของกระบวนการแยกสลายด้วยไฟฟ้า

2.2. 2.เพื่อศึกษาวิธีการแยกสลายด้วยไฟฟ้าของน้ำ

2.3. 3.เพื่อหาน้ำหนักอะตอมของทองแดงโดยวิธีการทางการแยกสลายด้วยไฟฟ้า

3. สารเคมี

3.1. กรดซัลฟุริก 0.5 M

4. อุปกรณ์

4.1. 1.บีกเกอร์ 250 ลบ.ซม.

4.2. 2.กระบอกตวง 50 ลบ.ซม.

4.3. 3.บิวเรต 50 ลบ.ซม.

4.4. 4.ขั้วไฟฟ้าทำด้วยลวดนิโครมที่มีหลอดหุ้ม

4.5. 5.ขั้วไฟฟ้าทำด้วยลวดทองแดง

4.6. 6.นาฬิกาจับเวลา

4.7. 7.แอมมิเตอร์ 100x2 mA พร้อมตัวต้านทานปรับค่าได้

4.8. 8.เครื่องจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง

4.9. 9.ไม้บรรทัด