ปฎิบัติการที่2 อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Reaction Rates)
by Phutsacha chaiamnat

1. การทดลองตอนที่ 1 ผลของความเข็มข้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
1.1. ปฏิบัติการที่ 1
1.1.1. 1.ใช้ปิเปตที่สะอาดที่สะอาดูดสารละลายแล้วใส่ในขวดรูปชมพู่ ใช้ปิเปตอีกอันหนึ่งดูดสารละลาย โซเดียมไทโอซัลเฟต ใส่ในขวดรูปชมพู่แล้วเติมนำแป้งลงไป 10 หยด เขย่าให้ผสมกัน
1.1.2. 2.ใส่เทอร์โมมิเตอร์ในขวดรูปชมพู่
1.1.3. 3. ใช้ปิเปตที่สะอาดดูดสารละลาย แอมดมเนียมเปอรืซัลเฟตใส่ลงในขวดรูปชมพู่
1.1.4. 4.เทสารละลายในขวดรูปชมพู่แล้วเขย่าแรงๆพร้อมจับเวลา
1.2. ปฏิบัติการที่2
1.2.1. 1.ทำการทดลองซำเช่นเดียวกับปฏิบัติการที่ 1 แต่เปลี่ยนความเข้มข้น
1.2.2. 2.หาอันดับปฏิกิริยาและค่าคงที่ที่อุณหภูมิห้อง
2. การทดลอตอนที่ 3 ผลของตัวเร่ง
2.1. 1.กำหนดให้ความเข้มข้นของสารคงที่และอุณหภูมิคงที่
2.2. 2.แต่เติมคอปเปอร์ซัลเฟตลงในขวดรูปชมพู่ซึ่งมีสารละลาย แอมโมเนียนซัลเฟตอยู่
2.3. 3.นำขวดรูปชมพู่ทั้ง 2 มาผสมกัน และทำการทดลองเช่นเดียวกับตอนที่ 1
3. อุปกรณ์
3.1. ปิเปต ขนาด 10 ลบ.ซม.
3.2. ขวดรูปชมพู่ ขนาด 250ลบ.ซม.และ 50ลบ.ซม. อย่างละ 5 ใบ
3.3. เทอร์โมมิเตอร์
3.4. นาฬิกาจับเวลา
4. สารเคมี
4.1. โพแทสเซียมไอโอไดด์ 0.200 M
4.2. แอมโมเนียมเปอร์ซัลเฟต 0.100 M
4.3. โพแทสเซียมคลอไรด์ 0.200 M
4.4. แอมโมเนียมซัลเฟต 0.100 M
4.5. โซเดียมไทโอซัลเฟต 0.005 M
4.6. 1% น้ำแป้ง (เตรียมใหม่ๆก่อนใช้)
4.7. คอปเปอร์(II)ซัลเฟต 0.1 M
5. การทดลอง
5.1. การทดลองตอนที่ 2 ผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
5.1.1. 1.กำหนดให้ความเข้มข้นของสารคงที่ อุณหภูมิประมาณ 15 องศา
5.1.2. 2.บันทึกเวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาที่อุณหภูมิต่างๆ