การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง by Mind Map: การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

1. โภชนบำบัด หรืออาหารบำบัดโรค(Diet therapy)

1.1. หมายถึงใช้อาหารช่วยในการรักษาโรคโดยการดัดแปลงอาหารธรมดาให้เป็นสารอาหารท่เหมาะสมกับโรค จุดมุ่งหมายคือช่วยรักษาหรือบรรเทาอาการของโรค และป้องกันอาการทุพโภชนาการที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างที่ได้รับการรักษาโรคอยู่

1.1.1. การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

1.1.1.1. โรคมะเร็ง

1.1.1.1.1. โภชนบําบัดโรคมะเร็ง

1.1.1.1.2. โภชนศึกษาโรคมะเร็ง

1.1.2. การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาในโรงพยาบาล

1.1.2.1. อาหารบําบัดโรคหรืออาหารเฉพาะโรค (therapeutic diet)

1.1.2.1.1. อาหารลดโซเดียม (Low Sodium diet)

1.1.2.1.2. อาหารลดไขมัน (Low fat diet)

1.1.2.1.3. อาหารลดโคเลสเตอรอล (Low cholesterol diet)

1.1.2.1.4. อาหารดัดแปลงโปรตีน (Protien modified diet)

1.1.2.1.5. อาหารดัดแปลงพลังงาน (energy modified diet)

1.1.2.1.6. อาหารโรคเบาหวาน (diabetes mellitus diet)

2. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการให้โภชนบําบัด

2.1. แพทย์

2.1.1. แพทย์เป็นผู้สังอาหารให้แก่ผู้ป่วย ไม่ว่าจะเป็นอาหารประเภทใด โดยแพทย์จะเป็นผู้สังลงในคําสั่งการรักษาของผู้ป่วย พร้อมทั้งมีลายเซ็นและวันที่กํากับไว้ด้วย หากมีการสังทางโทรศัพท์เพื่อให้ทันเวลาจัดอาหารก็ต้องมีใบสั่งอาหารตามลงมาด้วยทุกครั้งเพื่อให้มีหลักฐาน ยืนยันการสังอาหาร

2.2. พยาบาล

2.2.1. เป็นผู้คัดลอกคําสั่งของแพทย์ ลงในใบสั่งอาหารเพื่อส่งไปยังหน่วยบริการอาหารใบสังอาหาร ควรสางลงไปยังหน่วยบริการอาหารทันทีหรือก่อนเวลาจัดอาหาร1ชั่วโมง

2.2.2. หากผู้ป่วยมานอนป่วย โดยแพทย์ยังไม่ได้สั่งอาหารทางฝ่ายพยาบาลไม่สามารถติดต่อแพทย์ให้ส่งอาหารได้ ฝ่ายพยาบาลอาจสั่งอาหารอ่อนหรืออาหารนํ้าให้แก่ผู้ป่วยก่อนสําหรับมื้อนันแหละ สําหรับมื้อต่อไปให้แพทย์สั่งถ้าแพทย์มิได้สั่งทางฝ่ายบริการอาหารจะยังคงถือคําสังของพยาบาลประจําหอผู้ป่วยในการจัดอาหารต่อไป

2.2.3. คอยช่วยเหลือดูแลคนไข้ ระหว่างรับประทานอา หาร คอยสังเกตการรับประทานอาหารของคนไข้ ให้คําปรึกษาแนะนําด้านอาหารกับผู้ป่วยโรคบางชนิด

2.3. นักกำหนดการ

2.3.1. คิดคํานวณคุณค่าอาหารสําหรับผู้ป่วยตามที่แพทย์สัง การคํานวณอาหารจะต้องจัดทําเป็นรายๆไป เพื่อให้ผู้ป่วยได้สารอาหารตามที่แพทย์สั่ง

2.3.2. กําหนดอาหารและดัดแปลงอาหารให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายและความพึงพอใจของผู้ป่วยด้วย

2.3.3. ควบคุมการจัดและการปรุงอาหารเฉพาะโรค

2.3.4. เยี่ยมผู้ป่วย เพื่อจะได้ทราบผลการรับประทานอาหารของผู้ป่วย ถ้ามีปัญหาจะได้ แก้ไขอย่างถูกต้อง

2.3.5. ทํางานร่วมกับแพทย์และพยาบาลในการให้คําปรึกษาแนะนําด้านอาหารกับผู้ป่วย

3. กระบวนการทางโภชนบำบัด

3.1. การวิเคราะห์ภาวะโภชนาการของผู้ป่วย

3.1.1. การซักประวัติ ซักประวัติผู้ป่วยเกี่ยวกับอาหารบริโภค เพื่อสืบหาสาเหตุของปัญหา โภชนาการโดยเฉพาะ

3.1.1.1. เช่น ชนิดของอาหารที่บริโภคเป็ นประจํา ชนิดอาหารที่ชอบ และไม่ชอบ ปริมาณที่รับประทานแต่ละมื้อ จํานวนมื้ออาหารที่รับประทานแต่ละวัน รายการ อาหารที่รับประทานเมื่อ 24 ชัวโมงที่ผ่านมา ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารเป็ นต้น การซักประวัติ ่ อาจสอบถามจากผู้ป่ วยโดยตรงหรือญาติก็ได้

3.1.2. การวัดขนาดร่างกายของผู้ป่วย

3.1.2.1. การวัดส่วนสูง นํ้าหนักและการวัด ส่วนประกอบของร่างกาย เช่น ไขมัน กล้ามเนื้อ เพื่อประเมินภาวะโปรตีน และพลังงานที่เก็บ สํารองไว้ ในร่างกาย

3.1.3. การตรวจร่างกาย

3.1.3.1. การตรวจร่างกายโดยใช้วิธีสังเกตและวิธีตรวจร่างกายอย่างเป็ นลําดับและเป็นระเบียบ โดยตรวจบริเวณใดบริเวณหนึ่งทีละแห่ง เพื่อให้พบความบกพร่องเกี่ยวกับการเคี้ยว การย่อย การดูดซึม การขับถ่ายหรืออาการแสดงออกของภาวะทุพโภชนาการและสารอาหารที่ขาด

3.1.4. การตรวจทางชีวเคมี

3.1.4.1. โดยการตรวจเลือดและปัสสาวะ ผลการตรวจทางชีวเคมีช่วยยืนยันความเชื่อมันเพิ่มขึ้น จากผลการซักประวัติ การวัดขนาดร่างกายและการตรวจร่างกาย

3.2. การวางแผนการให้โภชนบําบัด

3.2.1. เป้าประสงค์ คือ ผลลัพท์ที่พึงปรารถนาสําหรับผู้ป่วยอย่างกว้างๆ เช่น ให้ผู้ป่วยมีนํ้าหนักเพิ่มขึ้น จนกระทังอยู่ในเกณฑ์ปกติ

3.2.2. วัตถุประสงค์ คือ ผลระยะสั้นแต่ละขึ้นตอนที่บรรลุเป้าประสงค์เช่นให้นํ้าหนักเพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ500กรัม โดยให้พลังงานเพิ่มขึ้นวันละ 500แคลอรี

3.2.3. วัตถุประสงค์ คือ ผลระยะสั้นแต่ละขึ้นตอนที่บรรลุเป้าประสงค์เช่นให้นํ้าหนักเพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ500กรัม โดยให้พลังงานเพิ่มขึ้นวันละ 500แคลอรี

3.3. ขั้นการดําเนินการโภชนบําบัด

3.3.1. นําแผนโภชนบําบัดมาดําเนินการให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่ต้องการรวมทั้งให้คําปรึกษาและให้โภชนศึกษา ความสําเร็จของโภชนบําบัด ต้องอาศัยความร่วมมือ ระหว่างแพทย์ พยาบาล นักกําหนดอาหาร ตลอดทั้งการยอมรับและ การยอมกินอาหารของผู้ป่วยด้วย และการให้โภชนศึกษานับเป็นส่วนที่สําคัญในการดําเนินงานด้าน โภชนบําบัด นักกําหนดอาหาร หรือ พยาบาล ควรเป็นผู้ดําเนินการ

3.4. ขั้นการประเมินผลโภชนบําบัด

3.4.1. การประเมินผล สังเกตหรื อสอบถามเกี่ยวกับการบริโภคอาหารของผู้ป่วยเกี่ยวกับปริมาณอาหารที่รับประทานได้ ความพอใจของผู้บริโภคเพื่อจะได้นํามาปรับปรุงดัดแปลงแก้ไขได้ เหมาะสมกับสภาพความเปลี่ยนแปลงของร่างกายและความต้องการของผู้ป่วย เพื่อให้การให้โภชนบําบัดดําเนินงานตามเป้าประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

4. การให้สรอาหารทางหลอดเลือดดำ

4.1. เป็นวิธีที่จะช่วยผู้ป่วยได้รับสารอาหารเพื่อการอยู่รอดของชีวิต และสามารถต่อสู้กับการติดเชื้อได้ โดยปกติมนุษย์ได้รับและย่อยอาหารทางGI tract แต่มีหลายภาวะหรือโรคที่ทำให้ไม่สามารถรับอาหารทางEnteral routeได้หรือจำเป็นต้องให้อาหารทางหลอดเลือดดำ

4.1.1. การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำแบบสมบูรณ์

4.1.1.1. การให้อาหารทางเส้นเลือดดำใหญ่(central vein)สามารถให้สารอาหารได้ครบทั้งปริมาณและชนิดของอาหาร หลอดเลือดดำใหญ่มีเลือดผ่านมากและแรงจึงช่วยdiluteสารอาหารที่มีความเข้มข้นสูงให้มีความเข้มข้นลดลงได้

4.1.2. การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำแบบบางส่วน

4.1.2.1. การให้อาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย(peripheral vein)ให้สารอาหารได้บางส่วนไม่ครบถ้วนตามความต้องการหรือได้อาหารบางชนิดเท่านั้น peripheral veinทนความเข้มของสารได้600mOsm/L

4.2. Parenteral Formula อาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดําควรประกอบด้วยสารอาหาร ครบถ้วนและพอเพียงกับความต้องการของผู้ป่วย

4.2.1. Carbohydrate, Protein, Fat, Vitamin, เกลือแร่ และน้ำ