ปฏิบัติการที่ 3 สมดุลเคม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฏิบัติการที่ 3 สมดุลเคม by Mind Map: ปฏิบัติการที่ 3 สมดุลเคม

1. อุปกรณ์และสารเคมี

1.1. หลอดทกลองขนาด 10 และ 20 ซม3 ,ขวดรูปชมพู่ขานด 150 ซม3 ,บีกเกอร์ขนาด 50 ลบ.ซม. ,กระบอกตวงขนาด 10 ลบ.ซม., เทอร์โมมิเตอร์ ,กระดาษกรอง CoCl2 . 6H2O, Co(NO3)2 . 6H2O ,สารละลาย 0.4 M CoCl2 ,สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ,สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 , ในเอธานอล ,เอธานอล ,อะซิโทน, conc.HCl

2. วิธีการทดลอง

2.1. ตอนที่1

2.1.1. 1. บันทึกสีของ CoCl2 . 6H2O และ Co(NO3)2 . 6H2O ที่อยู่ในรูปของแข็ง

2.1.2. 2. นำหลอดทดลองมา 2 หลอด หลอดหนึ่งใส่ CoCl2 . 6H2O 2-3 ผลึก อีกหลอดหนึ่งใส่ Co(NO3)2 . 6H2O 2-3 ผลึก เติมน้ำกลั่นหลอดละ 1 ลบ.ซม. เขย่าให้ละลาย บันทึกสีของสารละลาย

2.1.3. 3. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่ใช้เอธานอล และอะซิโทน เป็นตัวทำละลายแทนน้ำ บันทึกสีของสารละลาย อธายผลการทดลองโดยใช้หลักของสมดุล

2.2. ตอนที่ 2

2.2.1. 1. นำสารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ในน้ำมา 2.5 ลบ.ซม. ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 150 ลบ.ซม. เติมกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นลลไปครั้งละ 20 หยด เขย่าให้เข้ากันทุกครั้งที่เติมกรดลงไป บันทึกสีของสารละลายหลังจากเติมกรดแต่ละครั้ง และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็น

2.2.2. 2. นำสารละลายจากข้อ 1 มาเติมน้ำกลั่นครั้งละ 2 ลบ.ซม. 3 ครั้ง บันทึกสีของสารละลายหลังจากเติมน้ำกลั่นแต่ละครั้ง และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็น

2.2.3. 3. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 1 และ 2 โดยใช้0.4 M Co(NO3)2 ในเอธานอล 2.5ลบ.ซม. แทน แต่เติมกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นลงไปครั้งละ 0.1 ลบ.ซม. หรือ 2 หยด บันทึกผล

2.2.4. 4. เปรียบเทียบปริมาณของคลอไรด์ที่ต้องการใช้ในการทำให้สารละลายเกิดสีน้ำเงินในสารละลายที่มีแอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายกับสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย

2.3. ตอนที่ 3

2.3.1. 1. นำสารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ในน้ำมา 2.5 ลบ.ซม. ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 150 ลบ.ซม. เติมกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นลลไปครั้งละ 30 หยด เขย่าให้เข้ากัน สารละลายที่ได้จะมีสีม่วง

2.3.2. 2.แบ่งสารละลายสีม่วงใส่ลงในหลอด2ทดลอง 3 หลอด หลอดละเท่าๆกัน หลอดที่ 1 นำไปแช่ในน้ำแข็ง หลอดที่ 2 นำไปแช่ในน้ำร้อน หลอดที่ 3 วางไว้ที่อุณหภูมิภ้อง บันทึกผลที่เปลี่ยนแปลง อธิบายผลการทดลอง

3. หลักการ

3.1. ในปฏิกิริยา aA+bB <--> cC+dD ที่สมดุล Kc =[C]c[D]d/[A]a[B]b Kc คือค่าคงที่ของปฏิกิริยา [A],[B], [C],[D] คือความของสารที่สมดุล