อัตราการเกิดปฏิกริยา (Reaction Rates)
by Zell Dintch

1. จลนพลศาสตร์(Chemical Kinetics)
1.1. เป็นการศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาและกลไกการเกิดปฏิกิริยา
1.2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาวัดได้จากการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่อหน่วยเวลา
2. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
2.1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น
2.2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
2.3. อุณภูมิ
2.4. ตัวเร่ง(catalyst)
3. การทดลอง
3.1. สารเคมี
3.1.1. โพแทสเซียมไอโอไดด์ 0.200 M
3.1.2. แอมโมเนียมเปอร์ซัลเฟต 0.100 M
3.1.3. โพแทสเซียมคลอไรด์ 0.200 M
3.1.4. แอมโมเนียมซัลเฟต 0.100 M
3.1.5. โซเดียมไทโอซัลเฟต 0.005 M
3.1.6. คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต 0.100 M
3.1.7. น้ำแป้ง
3.2. อุปกรณ์
3.2.1. ขวดรูปชมพู่(erlenmeyer flask ) ขนาด250 ลบ.ซมและ 50ลบ.ซม อย่างละ 5 ใบ
3.2.2. ปิเปต (pipette) ขนาด 10 ลบ.ซม
3.2.3. เทอร์โมมิเตอร์
3.2.4. นาฬิกาจับเวลา
4. วิธีการทดลอง
4.1. ตอนที่ 1 ผลของความเข้มข้นต่ิอัตราการเกิดปฎิกริยา และการหากฎอัตรา
4.1.1. ปฎิกริยาที่ 1
4.1.2. ปฎิกริยาที่ 2-5
4.1.3. ตารางที่ 1