การวิเคราะห์แอนไอออนบางชนิด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การวิเคราะห์แอนไอออนบางชนิด by Mind Map: การวิเคราะห์แอนไอออนบางชนิด

1. นำสารตัวอย่างมา5หยดใส่ในหลอดทดลอง เติม 6โมล/ลิตรกรดไฮโดรคลอริก 2หยดและ1โมล/ลิตร แบเรียมคลอไรด์ 2-3 หยด ถ้ามีตะกอนขาวเกิดขึ้นแสดงว่ามีซัลเฟตไอออน

2. นำสารตัวอย่างมา 5หยด ใส่ในหลอดทดสองเติม กรดไนตริก 6โมล/ลิตร 5 หยด และซิลเวอร์ไนเตรต 2หยดถ้ามีตะกอนแสดงว่ามีแอนไอออนหมู่แฮไลด์

3. นำสารตัวอย่าง 10 หยดใส่ในหลอดทดลอง เติม conc.กรดไฮโดรคลอลิก 8 หยดและคาร์บอนเตตระคลอไรด์ 10 หยด ค่อยหยดสารละลาย โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตลงในหลอดทีละหยด เขย่าแรงๆถ้ามีสีม่วงแดงในชั้นของคาร์บอนเตตระคลอไรด์แสดงว่ามีไอโอไดด์ไอออน แต่ถ้ามีสีเหลืองจำปาแสดงว่ามีโบรไมด์ไอออน

4. กระดาษลิตมัส

5. ซิลเวอร์ไนเตรต

6. อุปกรณ์การทดลอง

6.1. หลอดทดลอง

6.2. แท่งแก้วกวน

6.3. น้ำกลั่น

6.4. เครื่องเซนตริฟิวส์

6.5. กระดาษอินดิเคเตอร์

7. การทดลอง

7.1. สารเคมีที่ใช้

7.1.1. โซเดียมซัลเฟต

7.1.2. ไดโซเดียมไฮโดรเจน ฟอสเฟต

7.1.3. โซเดียมคลอไรด์

7.1.4. โซเดียมโบรไมด์

7.1.5. โซเดียมไอโอไดด์

7.1.6. โซเดียมไนเตรต

7.1.7. โพแทสเซียมแมงกาเนต

7.1.8. แบเรียมคลอไรด์

7.1.9. ไอร์ออน ทู ซัลเฟต

7.1.10. แอมโมเนียมโมลิบเดต

7.1.11. คาร์บอนเททราคลอไรด์

7.1.12. ซิลเวอร์ซัลเฟต

7.1.13. โซเดียมเททราบอเรต

7.1.14. เมทิลแอลกอฮอล์

7.1.15. กรดไฮโดรคลอลิก

7.1.16. กรดซัลฟูริก

7.1.17. กรดไนตริก

7.1.18. แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์

8. วิธีทดลองหาแอนไอออนในสารตัวอย่าง

8.1. การทดสอบหมู่ซัลเฟต

8.2. การทดสอบหมู่แฮไลด์

8.3. การทดสอบหมู่ไนเตรต

8.4. การทดสอบเฉพาะสำหรับแอนไอออนแต่ละไอออน

8.4.1. ฟอสเฟตไอออน

8.4.1.1. นำสารตัวอย่างมา5หยดใส่ในหลอดทดลองเติม conc.กรดไนตริก 3 หยด และสารละลายแอมโมเนียมโมลิบเดต 5 หยด ต้ม2-3นาที ถ้าได้ตะกอนเหลืองแสดงว่ามีฟอสเฟตไอออน

8.4.2. บอเรตไอออน

8.4.2.1. นำสารตัวอย่าง 20 หยด ใส่ในชามระเหยนำไประเหยจนแห้ง ทิ้งให้เย็นใส่conc.กรดวัลฟูริก 3-4 หยด คนให้รวมกัน เติม เมทิลแอลกอฮอล์ คนให้ทั่วแล้วจุดไฟในชามระเหยถ้าได้เปลวไฟสีเขียวแสดงว่ามีบอเรตไอออน

8.4.3. โบรไมด์ไอออนและไอโอไดด์ไอออน

8.4.4. ในกรณีมีโบรไมด์ไอออนและไอโอไดด์ไอออน

8.5. ซัลเฟตไอออน

8.5.1. นำสารละลายตัวอย่างมา 5หยด ใส่ในหลอดทดลองแล้วเติม กรดวัลฟูริก 3โมล/ลิตร 2หยด เขย่าให้สารละลายผสมกันเอียงหลอดทำมุม 30 อาศากับพื้น ค่อยๆหยด conc.กรดซัลฟูริกให้ไหลลงช้าทีละหยด ประมาณ6-8หยดเกิดเป็นชั้นใต้ผิวของสารละลายให้ตั้งหลอดตรงชั่วขณะหนึ่งจะเกิดวงแหวนสีน้ำตาลขึ้นตรงรอยต่อระหว่างของเหลวทั้งสองแสดงว่ามีหมู่แอนไอออนไนเตรตอยู่

9. สารเคมีที่ทำให้เกินตะกอน

10. รีเอเจนต์

10.1. ความหมาย

10.2. รีเอเจนต์ที่ใช้ทดสอบแอนไอออนกลุ่มที่1-3

10.2.1. กลุ่มที่1 หมู่ซัลเฟต

10.2.1.1. แบเรียมคลอไรด์ในสารละลาย dil. แอมโนเนียมไฮดรอกไซด์

10.2.2. กลุ่มที่2 หมู่แฮล์ไลด์

10.2.2.1. ซิลเวอร์ไนเตรตในสารละลาย dil. กรดไนตริก

10.2.3. กลุ่มที่3 หมู่ไนเทรต

10.2.3.1. ไม่มี(ใช้การทดสอบฉพาะ)

11. ทำเหมือนการโบรไมด์และไอโอไดด์ไอออนแต่เมื่อถึงขั้นตอนที่หยดโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตทีละหยดจยมีสีม่วงแดงในชั้นของคาร์บอนเตตระคลอไรด์แล้วในหยดโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตต่อไปเรื่อยๆ พร้อมทั้งเขย่าทุกครั้ง ถ้าสีม่วงแดงจางไปเกิดเป็นสีเหลืองจำปามาแทนแสดงว่ามีไอออนดังกล่าวทั้งสองไอออนแต่ถ้าหยดโพแทสเวียมเปอร์แมงกาเนตแล้วกลายเป็นสารละลายใสไม่มีสีแสดงว่ามีแต่ไอโอไดด์ไอออน

12. นำสารตัวอย่างมา5หยดใส่ในหลอดทดลอง แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ 6โมล/ลิตร 5หยด ถ้ามีตะกอนเกิดขึ้น แสดงว่ามีแอนไอออนหมู่ซัลเฟต

13. แอนไอออน

13.1. ความหมาย

13.1.1. ไอออนที่มีประจุไฟฟ้าลบ

13.2. หมู่ของแอนไอออน

13.2.1. กลุ่มที่1 หมู่ซัลเฟต

13.2.1.1. ซัลเฟตไอออน

13.2.1.2. ฟอสเฟตไอออน

13.2.1.3. บอเรตไอออน

13.2.2. กลุ่มที่2 หมู่แฮล์ไลด์

13.2.2.1. คลอไรด์ไอออน

13.2.2.2. โบรไมด์ไอออน

13.2.2.3. ไอโอไดด์ไอออน

13.2.3. กลุ่มที่3 หมู่ไนเทรต

13.2.3.1. ไนเตรตไอออน

13.3. 5455