บทที่ 1 แนวคิดด้านโภชนาการ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 1 แนวคิดด้านโภชนาการ by Mind Map: บทที่ 1 แนวคิดด้านโภชนาการ

1. ความสัมพันธ์ของโภชนาการต่อมนุษย์

1.1. การกําหนดภาวะสุขภาพของบุคคลมีดังนี้

1.1.1. 1. สุขภาพกาย

1.1.1.1. 1.1 ขนาดของร่างกาย

1.1.1.2. 1.2 การมีกําลังแรงงาน

1.1.1.3. 1.3 การมีอำนาจต้านทานโรค

1.1.1.4. 1.4 การไม่แก่ก่อนวัยและมีอายุยืน

1.1.2. 2. สุขภาพจิต

1.1.3. 3. พัฒนาการทางสมอง

1.1.3.1. ไอโอดีน ธาตุเหล็ก กรดโฟลิก โปรตีนซึ่งเป็นสารอาหารที่จำเป็นในการเจริญเติบโตของ สมอง หากได้รับโปรตีนไม่เพียงพอจะส่งผลกระทบทำให้สมองมีขนาดเล็กกว่าปกติซึ่งมีผลเสียต่อสติปัญญาของเด็กในระยะยาว

2. หน้าที่และประโยชน์ของอาหาร

2.1. 1. สร้างความเจริญเติบโตและเป็นส่วนประกอบของร่างกาย เช่น สมอง กล้ามเนื้อ และกระดูก

2.2. 2. สร้างภูมิคุ้มกันและรักษาโรค เนื่องจากอาหารมีสารอาหาร ที่สําคัญหลายชนิด ช่วยให้ร่างกายมีความสมบูรณ์แข็งแรง ช่วยคุ้มกัน และรักษาโรค

2.3. 3. ให้พลังงานและความอบอุ่น ส่วนหนึ่งของอาหารจะถูกนําไปสร้างพลังงานเพื่อการเผาผลาญเพื่อให้เมแทบอลิซึมต่างๆในร่างกายดำเนินไปได้ตามปกติ

2.4. 4. เป็นตัวควบคุมการทำงานของกระบวนการต่างๆของร่างกายให้เป็นปกติ

2.5. 5. ใช้ในการสังเคราะห์สารที่จำเป็นและทำหน้าที่สำคัญหลายอย่าง

3. ปัจจยัที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ

3.1. ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการของเด็กเล็ก

3.1.1. 1. สิ่งแวดล้อมในครอบครัว

3.1.2. 2. ข้อมูลข่าวสาร

3.1.3. 3. สังคมเพื่อน

3.1.4. 4. การจัดการบริการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

3.1.5. 5. ความเจ็บป่วย

3.2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ

3.2.1. เพศ หญิง/ชาย ผู้สูงอายุเพศหญิงมีภาวะโภชนาการที่ดีกว่าผู้สูงอายเุพศชาย

3.2.2. การอาศัยอยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น/ไม่อบอุ่น ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่อบอุ่นมีภาวะ โภชนาการที่ดีกว่าผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่ไม่อบอุ่น

3.2.3. รายได้ สูง/ต่ำ ผู้สูงอายุที่มีรายได้สูงมีภาวะโภชนาการที่ดีกว่าผู้สูงอายุที่มีรายได้ต่ำ

3.2.4. สุขภาพร่างกาย แข็งแรง/ไม่แข็งแรง ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพแข็งแรงย่อมมีภาวะโภชนาการที่ดีกว่าผู้สูงอายุที่มีสุขภาพไม่แข็งแรง

4. ความสำคัญของโภชนาการด้านภาวะสุขภาพ

4.1. ความหมายของอาหาร (Food)

4.1.1. ของกินหรือเครื่องค้ำจุนชีวิต ได้แก่ วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อมหรือนำเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าด้วยวิธีใด หรือในรูปลักษณะใด แต่ไม่รวมถึงยา

4.2. ความหมายของสุขภาพ

4.2.1. สภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจและการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ย่างเป็นปกติสุข สุขภาพในปัจจุบันมีองค์ประกอบ 4 ด้าน ดังนี้

4.2.1.1. 1. สุขภาพกาย (physical health)

4.2.1.1.1. หมายถึง สภาพที่ดีของร่างกาย กล่าวคือ อวัยวะต่างๆ อยู่ในสภาพที่ดีมีความแข็งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ

4.2.1.2. 2. สุขภาพจิต (mental health)

4.2.1.2.1. หมายถึงสภาพของจิตใจที่ สามารถควบคุมอารมณ์ได้มีจิตใจเบิกบานแจ่มใส ไม่เกิดความคับข้องใจหรือขัดแย้งในจิตใจ

4.2.1.3. 3.สุขภาพสังคม (Social health)

4.2.1.3.1. หมายถึงผู้ที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สมบูรณ์ มีสภาพความเป็นอยู่ที่การดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข ไม่ทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อน

4.2.1.3.2. 2.สารอาหารชนิดจุลภาค (Micronutrient) เป็นสารอาหารที่ไมjให้พลังงานได้แก่ วิตามิน และเกลือแร่

4.2.1.4. 4. สุขภาพจิตวิญญาณ (spiritual health)

4.2.1.4.1. หมายถึงสถาวะที่ดีของปัญญาที่รู้เท่าทันและความเข้าใจสามารถแยกเหตุผลแห่งความดี ความชั่ว

4.2.2. มิติย่อย 4 มิติขององค์ประกอบสุขภาพ ดังนี้

4.2.2.1. 1. การส่งเสริมสุขภาพ

4.2.2.2. 2. การป้องกันโรค

4.2.2.3. 3. การรักษาโรค

4.2.2.4. 4. การฟื้นฟูสภาพ

4.3. ความหมายของสารอาหาร (nutrient)

4.3.1. หมายถึงสารเคมีที่อยู่ในอาหารมี 6 ชนิดเป็นสารที่มีความสําคัญต่อกระบวนการทํางานของร่างกายเพื่อการดํารงชีวิต แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ

4.3.1.1. ส่วนน้ำเป็นสารอาหารทีช่วยสนับสุนนการทำงานของร่างกายซึ่งจะขาดไม่ได้

4.4. ความหมายของสารพฤกษเคมีหรือไฟโตนิวเทรียนท์

4.4.1. หมายถึงสารเคมีที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่พบเฉพาะในพืช สารพฤกษเคมีอาจทําให้พืชผักมีสี กลิ่น และรสชาติที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว

5. อาหารและพลังงาน

5.1. ความหมายของพลังงาน

5.1.1. เป็นพลังงานที่ใช้ในร่างกายเพื่อให้ร่างกาย สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ซึ่งพลังงานของร่างกายได้มาจากการบริโภคอาหารและร่างกาย จะใช้สารอาหารที่บริโภคเข้าไปเปลี่ยนให้เป็นพลังงาน

5.2. ความหมายของแคลอรี่ (calories: cal)

5.2.1. หมายถึงหน่วยของปริมาณพลงังานในอาหาร และปริมาณพลังงานที่คนได้รับเมื่อรับประทานอาหารแต่ละ ชนิดเข้าไปโดยสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายจะประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมัน

5.3. ความหมายของพลังงานสมดุล

5.3.1. หมายถึงพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มเท่ากับพลังงานที่ใช้ในกระบวนการต่างๆของร่างกายรวมทั้งพลังงานที่ใช้ในการทำกิจกรรม

5.4. คความหมายของโลแคลอรี (kilo calories : Kcal)

5.4.1. หมายถึงปริมาณความร้อน ที่ทาํใหน้ำ 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส คืออุณหภูมิน้ำ เปลี่ยนจาก 15 องศาเซลเซียส เป็น 16 องศาเซลเซียส 1 กิโลแคลอรี เท่ากับ 1,000 แคลอรี