การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจเเละไหลเวียน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจเเละไหลเวียน by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจเเละไหลเวียน

1. Acquired heart disease

1.1. Rheumatic heart disease เกิดตามหลังไข้รูมาติก

1.1.1. อาการสำคัญ (majormanifestations)

1.1.1.1. การอักเสบของหัวใจ (carditis) อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ เต้นผิดจังหวะ อาจมีอาการหัวใจวาย

1.1.1.2. อาการข้ออักเสบ (polyarthritis) มักเป็นกับข้อใหญ่ๆ

1.1.1.3. Sydenham’s chorea

1.1.1.3.1. มีความผิดปกติของการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ควบคุมไม่ได้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง และมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์

1.1.1.3.2. อาการเหล่านี้จะหายไปขณะหลับและดีขึ้นใน 1-2 สัปดาห์ และจะหายเป็นปกติได้ใน 2-3 เดือน

1.1.1.4. Erythema marginatum เป็นผื่นแดง ไม่คัน ไม่ปวด ขอบผื่นหยักสีแดงชัดเจน

1.1.1.5. Subcutaneous nodules จะปรากฏให้เห็นหลังจากเป็นโรคแล้วนานหลายสัปดาห์ มีลักษณะเป็นก้อนแข็ง รูปกลม

1.1.2. อาการรอง (minor manifestation)

1.1.2.1. อาการไข้ ช่วงแรกอาจเป็นไข้สูง ไข้นาน 2 – 3 อาทิตย์ ปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ(polyarthralgia) เลือดกำเดา จากมีการอักเสบของหลอดเลือด ปวดท้อง ตำแหน่งที่ปวดไม่แน่นอน ปอดบวม

1.1.3. การวินิจฉัย

1.1.3.1. “Jones Criteria Update” มีอาการสำคัญ 2 อาการ

1.1.3.2. มีหลักฐานบ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อสเตร็ปโตคอคคัสกลุ่มเอ ASO > 170 Todd units/ml ESR CRP สูงกว่าปกติ

1.1.4. การรักษา

1.1.4.1. ยาปฏิชีวนะ ในกลุ่มเพนนิซิลินเช่น amoxycillin benzathine นาน 10 วัน

1.1.4.2. ยาลดการอักเสบ แอสไพริน ibuprofen และสเตียรอยด์

1.1.4.3. ยาลดอาการทางประสาท phenobarbital

1.1.5. การดูเเลเฉพาะในเเต่ละอาการ

1.1.5.1. รายที่ไม่มีหัวใจอักเสบ

1.1.5.1.1. absolute bedrest 2 wk. แล้วต่อด้วย bed rest นาน 4 สัปดาห์

1.1.5.1.2. ต้องป้องกันอย่างน้อย 5 ปี หลังการเป็นไข้รูมาติก

1.1.5.2. รายที่มีหัวใจอักเสบแต่ไม่รุนแรง

1.1.5.2.1. มีหัวใจอักเสบแต่หัวใจไม่โต

1.1.5.2.2. ให้ยานาน 10 ปีหลังการเป็นไข้รูมาติก และไม่หยุดยาก่อนอายุ21 ปี

1.1.5.3. มีการอักเสบของหัวใจรุนแรง

1.1.5.3.1. มีหัวใจอักเสบและหัวใจวายร่วม

1.1.5.3.2. ให้ยานานตลอดชีวิต

1.2. infective endocarditis ลิ้นหัวใจติดเชื้อ

1.2.1. สาเหตุ

1.2.1.1. ความพิการแต่กำเนิดของหัวใจ ลิ้นหัวใจผิดปกติ ส่งผลให้การไหลเวียนเลือดแรงกว่าปกติ

1.2.1.2. เกิดแผลถลอก

1.2.1.3. มีแบคทีเรียหลุดลอด รวมตัวกับเกล็ดเลือด

1.2.1.4. ก้อนเชื้อโรค vegetation

1.2.1.5. เกิดการติดเชื้อ

1.2.2. อาการและอาการแสดง

1.2.2.1. มีอาการของการติดเชื้อ ไข้ หนาวสั่น

1.2.2.2. อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เหงื่อออกมาก

1.2.2.3. หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ หัวใจล้มเหลว

1.2.2.4. อาจพบจุดเลือดออกปลายมือ ปลายเท้า หรือเยื่อบุตา

1.2.3. การรักษา

1.2.3.1. ให้ antibiotic

1.2.3.2. ผ่าตัด

1.2.3.3. รักษาประคับประคอง

2. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจ

2.1. 1. การผ่าตัดหัวใจแบบปิด (closed heart surgery) 2. การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (open heart surgery)

2.2. การพยาบาลก่อนการผ่าตัด

2.2.1. เตรียมเด็กและบิดามารดา

2.2.2. เปิดโอกาสให้ซักถาม

2.2.3. เตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย

2.2.4. งดการให้ยาดิจิทาลิส

2.3. การพยาบาลหลังผ่าตัด

2.3.1. สังเกตการทำงานของหัวใจและการไหลเวียนเลือด

2.3.2. ให้ยาเพิ่มการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ

2.3.3. ดูแลให้เด็กได้รับออกซิเจนเพียงพอ

2.3.4. กระตุ้นให้เด็กหายใจและไออย่างถูกวิธี

2.3.5. ระบายของเหลวและลมในช่องอกทางท่อระบายทรวงอก

2.3.6. ลดการทำงานของหัวใจ

2.3.7. ควบคุมและดูแลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

3. การประเมินสภาพ

3.1. การซักประวัติ

3.1.1. ประวัติพันธุกรรม

3.1.2. ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด

3.1.3. ประวัติอาการและอาการแสดง การเจ็บป่วย

3.1.3.1. อาการเขียว อาการเหนื่อย หอบ เจ็บหน้าอก อาการบวม การเจริญเติบโตและพัฒนาการ

3.2. การตรวจร่างกาย

3.2.1. การสวนหัวใจ (cardiac catheterization) เป็นการตรวจที่ช่วยประเมินความผิดปกติของหัวใจ กรณีที่เป็นโรคหัวใจซับซ้อนมากและไม่สามารถประเมินได้

3.2.2. การคลำ PMI point of maximum impulse

4. โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ( Congenital Heart Disease : CHD )

4.1. สาเหตุ

4.1.1. ผิดปกติทางพััธุกรรม :Trisomy13.18.21

4.1.2. การติดเชื้อ:rubella1-3 เดือนเเรกของการตั้งครรภ์

4.1.3. ได้รับยา/ฮอร์โมนบางชนิด:ยาระงับชัก ยาระงับประสาท ดื่มสุรา

4.1.4. เป็นโรค : เบาหวาน. หัวใจพิการเเต่กำเนิด

4.2. กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่มีอาการเขียว

4.2.1. ชนิดที่มีเลือดไหลลัดจากซีกซ้ายไปขวา (left to right shunt)

4.2.1.1. การมีรูรั่วของผนังกั้นระหว่างห้องหัวใจห้องล่าง (Ventricular septal defect หรือ VSD)

4.2.1.1.1. เกิดภาวะหัวใจซีกซ้ายวายและมีความดันเลือดในpulmonary artery สูงขึ้น จากการที่มีเลือดไหลผ่านเข้าสู่ pulmonary artery มากขึ้น

4.2.1.2. การมีความผิดปกติของเส้นเลือดใหญ่ระหว่างหัวใจและปอด (Patent ductus arteriosus หรือ PDA)

4.2.1.3. การมีรูรั่วของผนังกั้นระหว่างห้องหัวใจห้องบน (Atrial septal defect หรือ ASD)

4.2.1.3.1. เป็นความผิดปกติของหัวใจ ที่มีรูเปิดใน interatrial septum ทำให้เกิด left-to right shunt และ volume overload

4.2.1.4. อาการเเละอาการเเสดง

4.2.1.4.1. เหนื่อยง่าย ตัวเล็ก ติดเชื้อของทางเดินหายใจบ่อย

4.2.1.4.2. ตรวจร่างกาย พบหัวใจอาจโตเล็กน้อย

4.2.1.4.3. มีน้ำหนักน้อยกว่าปกติ

4.2.1.4.4. เงาหลอดเลือดแดงพัลโมนารี่โป่งออก

4.2.1.4.5. คลำได้ systolic thrill ได้ยินเสียง harsh pansystolic murmur

4.2.1.4.6. รูรั่วขนาดใหญ่

4.2.1.5. การรักษา

4.2.1.5.1. รักษาด้วยยา

4.2.1.5.2. การผ่าตัด

4.3. กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว

4.3.1. ชนิดที่มีเลือดไปปอดน้อยมีอาการเขียว (Decrease pulmonary blood flow)

4.3.1.1. โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว ความพิการสี่อย่างของฟัลโลท์ ( Tetralogy of Fallot : TOF )

4.3.1.1.1. เมื่อมีความพิการที่มีทางเชื่อมระหว่างระบบไหลเวียนในปอดกับระบบไหลเวียนทั่ว ร่างกาย เลือดก็ย่อมไหลจากหัวใจด้านซ้ายที่ไปเลี้ยงร่างกายไปยังด้านขวาที่ไปปอดเสมอ

4.3.1.2. อาการเเละอาการเเสดง

4.3.1.2.1. เด็กโตช้า ริมฝีปากและเล็บเขียว

4.3.1.2.2. มี clubbing finger

4.3.1.2.3. มีอาการเขียวทันที anoxic

4.3.1.2.4. ได้ยินเสียง systolic ejection murmur

4.3.1.3. ให้ prostaglandin E1 เพื่อช่วยขยาย PDA ทำให้มีเลือดไปปอดมากขึ้น

4.3.1.4. การรักษา

4.3.1.4.1. การผ่าตัด

4.3.2. ชนิดมีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก (increase pulmonary blood flow)

4.3.2.1. การสลับตำแหน่งของหลอดเลือดแดงเอออร์ต้า กับหลอดเลือดแดงพัลโมนารี่ ( Transposition of the Great Arteries : TGA )

4.3.2.1.1. เกิดความผิดปกติในโครงสร้างของหัวใจคือ หลอดเลือด pulmonary artery ออกจาก หัวใจห้องล่างซ้าย และหลอดเลือดแดงใหญ่ aorta ออกจากหัวใจห้องล่างขวา

4.3.2.2. อาการเเละอาการเเสดง

4.3.2.2.1. หัวใจมีขนาดโตขึ้น

4.3.2.2.2. หลอดเลือดปอดมีเพิ่มขึ้น

4.3.2.2.3. หัวใจเป็นรูปไข่ตะแคง(egg on side)

4.3.2.3. กาารักษา

4.3.2.3.1. ให้ prostaglandin E1

4.3.2.3.2. Rashkind procedure ด้วย Ballon atrial septostomy เป็นการทะลุผนังกั้นหัวใจห้องบนด้วยบอลลูน

4.3.2.3.3. ผ่าตัดแก้ไขทั้งหมด

4.4. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด

4.4.1. ลดการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อต่าง ๆ

4.4.2. เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจให้ดีขึ้น

4.4.3. ลดภาระการทำงานของหัวใจ

4.4.4. ประเมินสภาพการกำซาบของเลือดไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ

4.4.5. ทำความสะอาดภายในช่องปากและฟันอย่างสม่ำเสมอ

4.4.6. จัดให้เด็กนอนราบเข่าชิดอก หรือนั่งยองๆ (knee chest position)