1. Acquired heart disease
1.1. Rheumatic heart disease เกิดตามหลังไข้รูมาติก
1.1.1. อาการสำคัญ (majormanifestations)
1.1.1.1. การอักเสบของหัวใจ (carditis)
1.1.1.2. อาการข้ออักเสบ (polyarthritis)
1.1.1.3. Sydenham’s chorea มีความผิดปกติของการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
1.1.1.4. Erythema marginatum เป็นผื่นแดง ไม่คัน ไม่ปวด
1.1.2. ลิ้นไมตรัลรั่ว ( Mitral Regurgitation : MR )
1.1.3. ลิ้นไมตรัลตีบ ( Mitral Stenosis : MS )
1.1.4. ลิ้นเอออร์ติกรั่ว ( Aortic Regurgitation : AR )
1.1.5. การรักษา
1.1.5.1. ยาปฏิชีวนะ ในกลุ่มเพนนิซิลินเช่น amoxycillin benzathine นาน 10 วัน
1.1.5.2. ยาลดการอักเสบ แอสไพริน ibuprofen และสเตียรอยด์
1.1.5.3. ยาลดอาการทางประสาท phenobarbital
1.2. infective endocarditis ลิ้นหัวใจติดเชื้อ
1.2.1. ความพิการแต่กำเนิดของหัวใจ ลิ้นหัวใจผิดปกติ ส่งผลให้การไหลเวียนเลือดแรงกว่าปกติ
1.2.2. อาการและอาการแสดง
1.2.2.1. มีอาการของการติดเชื้อ ไข้ หนาวสั่น
1.2.2.2. อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
1.2.2.3. หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ หัวใจล้มเหลว
1.2.3. การรักษา
1.2.3.1. ให้ antibiotic
1.2.3.2. ผ่าตัด
1.2.3.3. รักษาประคับประคอง
2. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจ
2.1. 1. การผ่าตัดหัวใจแบบปิด (closed heart surgery) 2. การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (open heart surgery)
2.2. การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
2.2.1. เตรียมเด็กและบิดามารดา
2.2.2. เปิดโอกาสให้ซักถาม
2.2.3. เตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย
2.2.4. งดการให้ยาดิจิทาลิส
2.3. การพยาบาลหลังผ่าตัด
2.3.1. สังเกตการทำงานของหัวใจและการไหลเวียนเลือด
2.3.2. ให้ยาเพิ่มการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
2.3.3. ดูแลให้เด็กได้รับออกซิเจนเพียงพอ
2.3.4. กระตุ้นให้เด็กหายใจและไออย่างถูกวิธี
2.3.5. ระบายของเหลวและลมในช่องอกทางท่อระบายทรวงอก
2.3.6. ลดการทำงานของหัวใจ
2.3.7. ควบคุมและดูแลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
3. การประเมินสภาพ
3.1. การซักประวัติ
3.1.1. ประวัติพันธุกรรม
3.1.2. ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
3.1.3. ประวัติอาการและอาการแสดง การเจ็บป่วย
3.1.3.1. อาการเขียว อาการเหนื่อย หอบ เจ็บหน้าอก อาการบวม การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
3.2. การตรวจร่างกาย
3.2.1. การสวนหัวใจ (cardiac catheterization) เป็นการตรวจที่ช่วยประเมินความผิดปกติของหัวใจ กรณีที่เป็นโรคหัวใจซับซ้อนมากและไม่สามารถประเมินได้
3.2.2. การคลำ PMI point of maximum impulse
4. โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ( Congenital Heart Disease : CHD )
4.1. สาเหตุ
4.1.1. ผิดปกติทางพััธุกรรม :Trisomy13.18.21
4.1.2. การติดเชื้อ:rubella1-3 เดือนเเรกของการตั้งครรภ์
4.1.3. ได้รับยา/ฮอร์โมนบางชนิด:ยาระงับชัก ยาระงับประสาท ดื่มสุรา
4.1.4. เป็นโรค : เบาหวาน. หัวใจพิการเเต่กำเนิด
4.2. กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่มีอาการเขียว
4.2.1. ชนิดที่มีเลือดไหลลัดจากซีกซ้ายไปขวา (left to right shunt)
4.2.2. การมีรูรั่วของผนังกั้นระหว่างห้องหัวใจห้องล่าง (Ventricular septal defect หรือ VSD)
4.2.2.1. เกิดภาวะหัวใจซีกซ้ายวายและมีความดันเลือดในpulmonary artery สูงขึ้น จากการที่มีเลือดไหลผ่านเข้าสู่ pulmonary artery มากขึ้น
4.2.2.2. อาการและอาการแสดง
4.2.2.2.1. เหนื่อยง่าย ตัวเล็ก ติดเชื้อของทางเดินหายใจบ่อย
4.2.2.2.2. ตรวจร่างกาย พบหัวใจอาจโตเล็กน้อย
4.2.2.2.3. คลำได้ systolic thrill ได้ยินเสียง harsh pansystolic murmur
4.2.2.2.4. หลอดเลือดที่ปอด (pulmonary vasculature) เพิ่มขึ้น หัวใจด้านซ้ายโต
4.2.2.3. การรักษา
4.2.2.3.1. การรักษาด้วยยา ให้ยาในกลุ่มดิจิทาลิส (digitalis) ยาขับปัสสาวะ (furosemide)
4.2.2.3.2. การรักษาด้วยการผ่าตัด ควรได้รับการผ่าตัดก่อนอายุ 2 ปี ก่อนที่จะมีอาการของความดันเลือดในปอดสูง
4.2.2.3.3. ผ่าตัดปิดรูรั่ว (corrective surgery)
4.2.3. การมีความผิดปกติของเส้นเลือดใหญ่ระหว่างหัวใจและปอด (Patent ductus arteriosus หรือ PDA)
4.2.3.1. การรักษา
4.2.3.1.1. ด้วยยา ให้ indomethacin
4.2.3.1.2. การใส่สายสวนหัวใจและใส่อุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็น coil หรือคล้ายร่มที่เรียกว่า amplatzer เข้าไปปิดรูรั่ว
4.2.4. การมีรูรั่วของผนังกั้นระหว่างห้องหัวใจห้องบน (Atrial septal defect หรือ ASD)
4.2.4.1. เป็นความผิดปกติของหัวใจ ที่มีรูเปิดใน interatrial septum ทำให้เกิด left-to right shunt และ volume overload
4.2.4.2. อาการและอาการแสดง
4.2.4.2.1. เหนื่อยง่าย เหงื่อออกมาก ติดเชื้อทางเดินหายใจ
4.2.4.2.2. มีน้ำหนักน้อยกว่าปกติ ถ้ารูรั่วมีขนาดใหญ่จะมีอาการมากขึ้น
4.2.4.2.3. หัวใจห้องล่างขวาโต อาจมีหัวใจห้องบนขวาโต
4.2.4.2.4. เงาหลอดเลือดแดงพัลโมนารี่โป่งออก
4.2.4.3. การรักษา
4.2.4.3.1. การรักษาด้วยยา
4.2.4.3.2. การรักษาด้วยการผ่าตัด ทำได้ทุกอายุ แต่ถ้ารอได้ควรรอ อายุที่เหมาะผ่าตัดคืออายุ 2-5 ปี
4.2.4.3.3. การปิดรูรั่วด้วยอุปกรณ์พิเศษระหว่างสวนหัวใจ (ASD device ) ทำในรายที่รูรั่วมีขนาดเล็ก
4.3. กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว
4.3.1. โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว ความพิการสี่อย่างของฟัลโลท์ ( Tetralogy of Fallot : TOF )
4.3.1.1. ชนิดที่มีเลือดไปปอดน้อยมีอาการเขียว (Decrease pulmonary blood flow)
4.3.1.2. เมื่อมีความพิการที่มีทางเชื่อมระหว่างระบบไหลเวียนในปอดกับระบบไหลเวียนทั่ว ร่างกาย เลือดก็ย่อมไหลจากหัวใจด้านซ้ายที่ไปเลี้ยงร่างกายไปยังด้านขวาที่ไปปอดเสมอ
4.3.1.3. อาการและอาการแสดง
4.3.1.3.1. เด็กโตช้า ริมฝีปากและเล็บเขียว
4.3.1.3.2. มี clubbing finger
4.3.1.3.3. มีอาการเขียวทันที anoxic
4.3.1.3.4. ได้ยินเสียง systolic ejection murmur
4.3.1.4. รักษา
4.3.1.4.1. ให้ prostaglandin E1
4.3.1.4.2. ผ่าตัดชั่วคราว
4.3.2. การสลับตำแหน่งของหลอดเลือดแดงเอออร์ต้า กับหลอดเลือดแดงพัลโมนารี่ ( Transposition of the Great Arteries : TGA )
4.3.2.1. เกิดความผิดปกติในโครงสร้างของหัวใจคือ หลอดเลือด pulmonary artery ออกจาก หัวใจห้องล่างซ้าย และหลอดเลือดแดงใหญ่ aorta ออกจากหัวใจห้องล่างขวา
4.3.2.2. อาการและอาการแสดง
4.3.2.2.1. หัวใจมีขนาดโตขึ้น
4.3.2.2.2. หลอดเลือดปอดมีเพิ่มขึ้น
4.3.2.2.3. (anoxic spells) จะมีอาการเขียวมากขึ้น
4.3.2.2.4. เหนื่อยหอบมากขึ้น ตัวอ่อน ปวกเปียกและหมดสต
4.4. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
4.4.1. ลดการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อต่าง ๆ
4.4.2. เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจให้ดีขึ้น
4.4.3. ลดภาระการทำงานของหัวใจ
4.4.4. ประเมินสภาพการกำซาบของเลือดไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ
4.4.5. ทำความสะอาดภายในช่องปากและฟันอย่างสม่ำเสมอ
4.4.6. จัดให้เด็กนอนราบเข่าชิดอก หรือนั่งยองๆ (knee chest position)