วิจัยทางการพยาบาล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
วิจัยทางการพยาบาล by Mind Map: วิจัยทางการพยาบาล

1. สมมติฐานการวิจัย

1.1. เป็นคำตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลกับปัญหาที่ศึกษา เขียนอยู่ในลักษณะของข้อความกล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัวขึ้นไป คำตอบอาจถูกหรือไม่ก็ได้ จึงมีการทดสอบโดยใช้ข้อมูลต่างๆ

1.2. ความสำคัญ

1.2.1. เป็นแนวทางในการกำกับวิจัย ให้มีความชัดเจน ไม่หลงทิศทาง

1.2.2. ช่วยในการออกแบบการวิจัย การวัดตัวแปร การสร้างเครื่องมือการเก็บข้อมูล

1.2.3. ช่วยชี้แนวทางในการแปรผล สรุป

2. ประเภทของสมมติฐานการวิจัย

2.1. สมติฐานทสมมติฐานทางวิจัย (Research hypothesis)

2.1.1. เขียนอยู่ในรูปแบบของข้อความที่ใช้พาษาเป็นสื่อ

2.2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis)

2.2.1. สมมติฐานหลัก เป็นการเขียนอธิบายความสำคัญของตัวแปรสองตัว

2.2.2. สมมติฐานกลุ่มทางเลือก อธิบายคุณลักษณะหนึ่งข่องสองกลุ่มว่าสิ่งนั้นดีหรือแย่กว่า

3. การกำหนดขอบเขตการวิจัย

3.1. การกำจัดหรือกำหนดขอบเขตของการวิจัย ความสำคัญของงานวิจัยในแต่ละเรื่องไม่สามารถศึกษาได้คลอบคลุมทุกประเด็นการกำหนดขอบเขตของการวิจัย จะทำให้งานวิจัยมีความชัดเจนขึ้น และเป็นไปตามจุดประสงค์

4. ตัวแปร

4.1. ตัวแปรต้น (Dependent variable)

4.1.1. เป็นตัวแปรที่ต้องการศึกษา

4.2. ตัวแปรตาม (Independent variable)

4.2.1. เป็นผลของตัวแปรต้น

4.3. ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรเกิน (Extraneous variable)

4.3.1. เป็นตัวแปรที่ไม่ต้องการศึกษา และไม่สามารถควบคุมได้

4.4. ตัวแปรสอดแทรก (Intervening variable)

4.4.1. เป็นตัวแปรที่ส่งผลกระทบกับตัวแปรตาม แต่ไม่สามารถควบคุมได้

5. ระดับการวัดตัวแปร

5.1. มาตรานามบัญญัติหรือระดับกลุ่ม (Nominal Scale)

5.1.1. เป็นการวัดจัดกลุ่มหรือแยกประเภท เป็นสัญลักณ์ แต่ไม่สามารถบอกปริมาณหรือความต่างกันได้

5.2. ระดับการวัดในมาตราอันดับ (Ordinal Scale)

5.2.1. บอกลำดับหรือความมากน้อยของข้อมูลได้ แต่ไม่สามารถบอกปริมาณได้ และไม่สามารถนำมาบวก ลบ คูณ หารได้

5.3. ระดับการวัดในมาตราอันตรภาค (Interval Scale)

5.3.1. สามารถบอกปริมาณความแตกต่างได้ นำมาบวก ลบ กันได้ แต่คูณ หารไม่ได้ เนื่องจากไม่มีศูนย์แท้ (Absolute Zero)

5.4. ระดับก่ีวัดในมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)

5.4.1. เป็นการวัดที่สมบูรณ์ที่สุด สามารถบอกสูงต่ำ หรือปริมาณมากน้อยได้

6. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง

6.1. กลุ่มตัวอย่าง (sample)

6.1.1. ส่วนหนึ่งของประชากรที่นำมาศึกษาซึ่งเป็นตัวแทนของประชากร ดังนั้นการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรจึงมาการจากการเลือก

6.2. ประเภทของการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง

6.2.1. การสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น (probability sample)

6.2.1.1. การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย สุ่มโดยถือว่าสมาชิกในประชากรมีโอกาสถูกเลือกเท่าๆกัน

6.2.1.2. การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เป็นการสุ่มโดยเรียงตามระบบรายชื่อ

6.2.1.3. การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภุมิ โดนแยกกลุ่มประชากรออกเป็นกลุ่มย่อย

6.2.1.4. การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยแบ่งออกจามพื้นที่โดยไม่จำเป็นต้องทำบัญชีรายชื่อของประชากร

6.2.1.5. การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เป็นการสุ่มตัวอย่างที่มีประชากรมากๆ โดยผู้วิจัยไม่รู้ขอบข่ายแน่นอน

6.3. วิธีการกำหนดกลุ่มตัวอย่าง

6.3.1. จากการกำหนดเกณฑ์ ต้องทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน ใช้เกณฑ์กำหนดเป็นร้อยละของประชากรในการพิจารณา

6.3.2. การใช้ตารางสำเร็จรูป

6.3.3. การใช้สูตรคำนวณ