Rheumatoid arthritis

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Rheumatoid arthritis by Mind Map: Rheumatoid arthritis

1. ความหมาย

1.1. โรคที่มีการอักเสบของข้อต่างๆในร่างกายหลายๆข้อพร้อมกันอย่างน้อย 6 สัปดาห์ เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่งที่เกิดจากความผิดปกติในการทำงานของระบบคุ้มกันของร่างกายสร้างสารขึ้นมาแล้วเกิดต่อต้านตัวเอง โดยไม่ทราบสาเหตุ

1.2. อวัยวะที่มีผลกระทบมากที่สุด คือ เยื่อหุ้มข้อและเอ็น(Synovial tissue ) ซึ่งการอักเสบเรื้อรังของข้อส่งผลทำให้เกิดความพิการได้

1.2.1. ข้อที่พบบ่อย คือ ข้อมือ ข้อนิ้วมือข้อกลาง ข้อที่ไม่ค่อยพบคือ ข้อปลายนิ้วมือ

2. สาเหตุ

2.1. โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคออโตอิมมูนหรือเรียกอีกชื่อว่า โรคภูมิแพ้เนื้อเยื่อตัวเอง

2.1.1. ผู้ป่วยมีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันที่ผิดปกติ โดยมีเม็ดเลือดขาวสร้างแอนติบอดีต่อเนื้อเยื่อตัวเอง

2.2. ปัจจัยทางพันธุ์กรรม

2.2.1. ยีนหลายชนิดเกี่ยวข้องกับการเกิดโรค ซึ่งพบมากสองในสามของผู้ป่วยโรคดังต่อไปนี้

2.2.1.1. การติดเชื้อโรคบางชนิด

2.2.1.1.1. โดยเฉพาะไวรัส *

2.2.1.2. เพศ

2.2.1.2.1. พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย

2.2.1.3. ปัจจัยสิ่งแวดล้อม

2.2.1.3.1. การสูบบุหรี่

3. พยาธิสภาพ

3.1. เยื่อบุข้ออักเสบ Synovitis

3.1.1. เริ่มมีการอักเสบ ผิวข้อ(Shnocial villi)จะขยายใหญ่ขึ้น ถูกแทรกด้วยเซลล์หลายชนิด

3.1.1.1. ในระยะแรกการอักเสบจะจำกัดอยู่ในเยื่อหุ้มข้อ(Joint capsule) โดยเฉพาะที่เยื่อบุข้อ (Synovial membrane) เนื้อเยื่อจะบวมและหนาขึ้น

3.2. การเกิดพันนัส (Pannus foramention)

3.2.1. เมื่ออักเสบเรื้อรัง ทำให้เยื่อบุข้อหนา แข็งเซาะกระดูกอ่อนและทำลายข้อกระดูกอ่อน

3.2.1.1. ได้รับอาหารไปเลี้ยงไม่พอจึงถูกทำลาย มีการสลายตัวของ (Lysis) และขาดอาหาร

3.3. ข้อติดแข็งแบบไฟบรัส (Fibrous ankylosis)

3.3.1. เกิดขึ้นจากการมี Glanulation tissue

3.3.1.1. ทำให้บริเวณนั้นเกิด Fibrous tissue แข็งขึ้น

3.3.1.1.1. เกิดเป็นแผลเป็น ทำให้ข้อเคลื่อนไหวไม่ได้

3.4. ข้อติดแข็งแบบกระดูก Bony ankylosis

3.4.1. เกิดเนื้อเส้นใยมีหินปูนเกาะ

3.4.1.1. จะแข็งมากจนกระดูกและข้อแข็ง

3.4.1.1.1. เคลื่อนไหวไม่ได้ การเปลี่ยนแปลงอวัยวะใกล้เคียง คือ

3.5. พยาธิสรีรวิทยา

3.5.1. เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่าง T Cell และ Antigen presenting cell (APC) ทำให้มีการหลั่ง Cytokine ต่างๆที่ก่อการอักเสบออกมา

3.5.1.1. พบว่า B Cell ก็มีส่วนสำคัญในการเกิดการอักเสบด้วย

3.5.2. การอักเสบทำให้เกิดการกร่อนทำลายของกระดูกอ่อนผิวข้อ

3.5.2.1. และกระดูใต้ผิวกระดูกอ่อนในข้อ ซึ่งจะทำให้เกิดข้อผิดร๔ปและพิการ

4. ภาวะแทรกซ้อน

4.1. โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)

4.1.1. เป็นภาวะที่กระดูกมีความเสื่อมอละเปราะบางลงทำให้แตกร้าวได้ง่าย

4.1.1.1. ซึ่งกรณีนี้อาจเกิดจากยาบางชนิดที่ใช้ในการรักษา

4.2. ปุ่มรูมาตอยด์ (Rheumatoid Nodules)

4.2.1. ตุ่มบวมมักเกิดขึ้นบนร่างกายในบริเวณที่มีการเสียดสี

4.2.1.1. ตุ่มบวมนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ในร่างกายรวมไปถึงปอด

4.3. ตาแห้งและปากแห้ง

4.4. การติดเชื้อ

4.4.1. โรครูมาตอยด์และยาที่ใช้รักษา

4.4.1.1. ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลงและนำไปสู่การติดเชื้อได้ในที่สุด

4.5. โรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ

4.6. ภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจ

4.6.1. หลอดเลือดอุดตัน

4.6.2. หลอดเลือดแข็งตัว

4.6.3. เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ

4.7. โรคปอด

4.7.1. เกิดการอักเสบเนื้อเยื่อปอดหรือเกิดพังผืดที่เนื้อเยื่อปอด

4.7.1.1. ทำให้เกิดการหายใจลำบากหรือหายใจสั้น

4.8. มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)

5. การประเมินสุขภาพ

5.1. ประวัติ

5.1.1. ประวัติที่เกี่ยวข้องกับอาการผิดปกติของข้อ

5.1.2. อาการปวดข้อจะปวดข้อทั่วไปปวดเมื่อย ปวดข้อ ข้อติดแข็ง

5.1.2.1. พบในตอนเช้าจะปวดมาก ตอนกลางวันจะดีขึ้น

5.1.3. พบข้อที่มีพยาธิสภาพมากที่สุด คือ

5.1.3.1. ข้อนิ้วมือ

5.1.3.2. ข้อมือ

5.1.3.3. ข้อศอก

5.1.3.4. ข้อเข่า

5.1.3.5. กระดูกคอ

5.1.3.6. กระดูกขากรรไกร

5.1.4. ลักษณะของบวมแดงร้อนกดเจ็บ

5.1.4.1. พบตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป

5.1.5. ปุ่มนุ่มกดไม่เจ็บเป็นถุงน้ำอยู่บริเวณข้อศอก หรือนิ้วมือ ท้ายทอยหรือกระดูกก้นกบ

5.1.6. ประวัติส่วนตัว เศรษฐกิจ สังคมและ อาชีพผู้ป่วย

5.1.7. การใช้ยาและการรักษาที่เคยรับมาก่อน ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต การแพ้ยา แพ้อาหารและสารเคมี

5.2. สภาพร่างกายทั่วไป

5.2.1. ผิวหนัง

5.2.1.1. พบปุ่มบนผิวหนัง ตามข้อที่ใช้งานมาก เช่น ข้อศอก ข้อนิ้วมือ เป็นต้น

5.2.2. ระบบประสาท

5.2.2.1. มีอาการชาตามมือและเท้า

5.2.3. ตา

5.2.3.1. พบมีการอักเสบของกระจกตาและเยื่อบุตาขาว

5.2.4. กล่องเสียง

5.2.4.1. เสียงแหบ

5.2.5. ปอด

5.2.5.1. มีการเปลี่ยนแปลง เนื้อปอดแข็ง มีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด

5.2.6. หัวใจ

5.2.6.1. กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ

5.2.6.2. ลิ้นหัวใจรั่ว

5.2.7. ระบบทางเดินอาหาร

5.2.7.1. ปวดท้อง

5.2.8. ไต

5.2.8.1. ไตอักเสบ

5.2.9. โลหิต

5.2.9.1. โลหิตจาง

5.2.9.2. ม้ามโต

5.2.10. อาการทั่วไป เช่น

5.2.10.1. มีไข้

5.2.10.2. น้ำหนักลด

5.2.10.3. อ่อนเพลียไม่มีแรง

5.2.10.4. เหนื่อยง่าย

5.2.10.5. คลื่นไส้

6. อาการและอาการแสดง

6.1. อาการทั่วไปตามเกณฑ์

6.1.1. ข้อฝืดตึงตอนเช้า นานกว่า 1 ชั่วโมง

6.1.2. มีอาการข้ออักเสบจากการตรวจร่างกาย ตั้งแต่ 3 ข้อขึ้นไป

6.1.2.1. โคนนิ้วมือและเท้า

6.1.2.2. ข้อกลางของนิ้วมือและเท้า

6.1.2.3. *อย่างไรก็ตามมีผู้ป่วยรูมาตอยด์ 50% ที่มาด้วยข้ออักเสบเพียง1-2 ข้อในระยะแรกของโรค

6.1.3. มีอาการข้อนิ้วมือ หรือ ข้อมืออักเสบอย่างน้อย 1 ข้อ

6.1.4. มีอาการข้ออักเสบแบบสมมาตร (Symmetrical arthritis)

6.1.4.1. มีการอักเสบของทั้งสองด้านของร่างกาย

6.1.4.2. ในระยะแรกของผู้ป่วยอาจมีข้ออักเสบในลักษณะไม่สมมาตรได้

6.1.5. ตรวจปุ่มรูมาตอยด์

6.1.5.1. บริเวณใกล้ข้อ Bony prominence หรือ Extensor suffacr ของแขนขา เป็นลักษณะที่มีความจำเพาะสูงในการวินิจฉัยรูมาตอยด์

6.1.5.2. ตรวจพบร้อยละ 3-5 แต่มักตรวจไม่พบในผู้ป่วยที่มีอาการในระยะแรก

6.1.6. ตรวจพบสารรูมาตอยด์ (Rheumatoid factor) ในเลือด

6.1.6.1. ตรวจพบร้อยละ 85

6.1.6.2. แต่ในผู้ป่วยระยะแรก หรือ ผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง มักตรวจไม่พบ นอกจากนั้นอาจตรวจพบผลบวกแทน (ไม่ได้เป็นโรครูมาตอยด์) ในหลายภาวะ เช่น

6.1.6.2.1. ผู้สูงอายุ

6.1.6.2.2. การติดเชื้อเรื้อรัง

6.1.6.2.3. รวมทั้งโรคข้ออักเสบและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันอักเสบอื่นๆ

6.1.7. พบได้น้อยและมักเป็นกับข้อใหญ่

6.1.8. การตรวจการหา การสึกกร่อนของกระดูกที่อยู่ในข้อ (Marginal erosion)

6.1.8.1. จากภาพถ่ายรังสีสามารถพบได้ร้อยละ 15-30 ในระยะ 1 ปีแรก

6.1.8.2. จากภาพถ่ายรังสีในระยะ 2 ปีจะพบได้ถึงร้อยละ 90

6.1.8.3. แม้เกณฑ์วินิจฉัยใช้ภาพรังสีของมือ แต่เนื่องจากข้ออักเสบรูมาตอยด์ในระยะแรกมักมีอาการของ ข้อนิ้วเท้าและข้อเท้าด้วย

6.1.8.3.1. จึงควรส่งตรวจภาพรังสีของทั้งมือและเท้า ในผู้ป่วยรูมาตอยด์ระยะแรกทุกราย **

6.1.9. การเปลี่ยนแปลงของกระดูกในข้อบริเวณมือ จากภาพถ่ายรังสี

6.2. อาการแยกจากโรครูมาตอยด์ระยะแรกแบบต่างๆ

6.2.1. โรคข้ออักเสบเรื้อรังหลายข้อ(Chronic oligo-polyarthritis)

6.2.1.1. พบในผู้ป่วยรูมาตอยด์ร้อยละ 50 เช่น

6.2.1.1.1. โรคข้ออักเสบที่เกิดตามหลังการติดเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus,ไวรัส

6.2.1.1.2. วัณโรค (Infection associated arthropathy but not septic arthritis)

6.2.1.1.3. โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพันอักเสบ (โรคลูปัส,โรคหนังแข็ง,Overlapping syndrome)

6.2.1.1.4. Seronegative spondyloarthropathy (SNSA)

6.2.1.1.5. โรคเก๊าท์และเก๊าท์เทียม (CPPD)

6.2.1.1.6. โรคข้อที่เกิดสัมพันธ์กับมะเร็ง (Paraneoplastic symdrome)

6.2.2. โรคคข้ออักเสบเฉียบพลันเป็นๆหายๆ(Palindromic rheumatism)

6.2.2.1. พบในผู้ป่วยรูมาตอยด์ร้อยละ 10 แต่พบในระยะแรกฟของโรคข้ออักเสบได้หลายชนิด เช่น

6.2.2.1.1. Seronegative spondyloarthropathy (SNSA)

6.2.2.1.2. Systemic lupus erythematosus (SLE)

6.2.2.1.3. Behcet’disease

6.2.2.1.4. *โดยประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่วยที่มีอาการแบบนี่ จะกลายเป็นรูมาตอยด์ในที่สุด

6.2.2.1.5. ใช้เวลาในการแสดงอาการ 2-5 วัน

6.2.3. โรคข้ออักเสบเรื้อรังข้อเดียว (Chronic monoarthritis)

6.2.3.1. พบได้น้อย และมักเป็นกับข้อใหญ่ เช่น

6.2.3.1.1. ข้อไหล่

6.2.3.1.2. ข้อศอก

6.2.3.1.3. ข้อเข่า

6.2.3.1.4. ต้องแยกจากโรค

6.3. ผู้ป่วยที่เป็นโรคมานาน สามารถอาศัยลักษณะการดำเนินโรคมาประกอบข้อวินิจฉัยได้ดังนี้

6.3.1. Polycyclic pattern

6.3.1.1. พบร้อยละ 70

6.3.1.2. กลุ่มที่มีอาการ

6.3.1.2.1. กำเริบและลดลงสลับกันไป

6.3.1.2.2. บางรายอาจมีระยะที่เป็นโรคสงบเป็นช่วงๆ

6.3.1.2.3. ระยะยาวพบว่าข้อถูกทำลายมากที่สุด*

6.3.2. Monocyclic pattern

6.3.2.1. พบร้อยละ 20

6.3.2.2. เมื่อได้รับการรักษา

6.3.2.2.1. เข้าสู่ระยะสงบได้นานโดยไม่มีการกำเริบของโรค

6.3.2.2.2. โดยอาการข้ออักเสบมักหายไปในระยะ 2 ปีแรกของการรักษา

6.3.3. Progressive pattern

6.3.3.1. พบร้อยละ 10

6.3.3.2. พยากรณ์โรคแย่ที่สุด

6.3.3.2.1. มักไม่สามารถควบคุมการอักเสบและการทำลายข้อได้

6.4. อาการอื่นนอกระบบข้อ (Extra-articulations manifeatation)

6.4.1. ปุ่มรูมาตอยด์

6.4.1.1. ลักษณะปุ่มที่คลำได้อาจนุ่มหรือแข็ง เคลื่อนที่ได้หรือยึดติดกับกระดูกข้างใต้ก็ได้

6.4.1.2. อาจพบได้หลายแห่ง และหายเมื่ออาการของโรคดีขึ้นหลังการรักษา

6.4.2. ภาวะซีดเรื้อรัง

6.4.2.1. ผลจากการอักเสบเรื้อรัง

6.4.2.1.1. พบเกร็ดเลือดสูง

6.4.2.2. สัมพันธ์กับอัตราการตกตะกอยของเม็ดเลือดแดง ESR

6.4.3. Felty’s syndrome

6.4.3.1. Triad:RA+Splenomegaly+Leukopenia

6.4.4. ต่อมน้ำเหลืองโต

6.4.4.1. พบบริเวณใกล้ข้อที่อักเสบ

6.4.4.1.1. เหนือข้อศอก

6.4.4.1.2. รักแร้

6.4.4.1.3. ขาหนีบ

6.4.4.2. ถ้าต่อมน้ำเหลืองโตมาก

6.4.4.2.1. ส่งตรวจพยาธิเพื่อแยกจากวัณโรคและมะเร็ง

6.4.5. อาการทางตา

6.4.5.1. Keratoconjunctivitis sicca

6.4.5.2. Episcleritis

6.4.5.3. Scleritis

6.4.5.3.1. Scleromalacia perforan

6.4.6. ระบบทางเดินหายใจ

6.4.6.1. Pleuritis

6.4.6.1.1. อาจไม่มีอาการ หรือมีอาการเจ็บหน้าอกเมื่อหายใจลึกๆ

6.4.6.2. Interstitial pneumonitis

6.4.6.2.1. มักไม่มีอาการ

6.4.6.2.2. ยกเว้น รายที่มีการอักเสบรุนแรง จะมีอาการ ดังต่อไปนี้

6.4.6.2.3. CXR พบ interstitial infiltration บริเวณชายปอด

6.4.6.2.4. มักเกิดในผู้ป่วย RF positive ร่วมกับ Antibodies (ANA) positive

6.4.6.3. Lung nodules

6.4.6.3.1. มักไม่มีอาการ

6.4.6.3.2. CXR พบ lung nodule อาจเป็นก้อนเดี่ยวหรือหลายก้อน และอาจพบโพรงอยู่ภายในก้อน

6.4.6.3.3. สัมพันธ์กับอาการข้ออักเสบและการตรวจสารรูมาตอยด์

6.4.7. ระบบหัวใจ

6.4.7.1. Pericarditis

6.4.7.1.1. อาจไม่มีอาการ / เจ็บหน้าอกด้านซ้าย

6.4.7.1.2. รายที่เรื้อรัง อาจเกิดภาวะ Constrictive pericarditisและ หัวใจล้มเหลวได้

6.4.7.2. กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ

6.4.7.2.1. มักไม่มีอาการ

6.4.7.2.2. ลักษณะทางพยาธิ

6.4.7.3. Pericardial effusion

6.4.7.3.1. พบประมาณร้อยละ 30

6.4.7.3.2. ลักษณะน้ำเหมือน

6.4.7.3.3. อาการสัมพันธ์กับอาการข้ออักเสบ

6.4.7.4. ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ

6.4.7.4.1. พบประมาณร้อยละ 30

6.4.7.4.2. พบบ่อยที่ Mitral valve regurgitation บ่อยที่สุด**

6.4.7.4.3. มักไม่มีผลต่อดารทำงานของหัวใจ

6.4.8. ระบบประสาท

6.4.8.1. Nerve entrapment

6.4.8.1.1. เส้นประสาทที่ถูกกดทับบ่อยคือ

6.4.8.2. เส้นประสาทอักเสบ แบบ mononeuritis multiplex

6.4.8.2.1. พบในรายที่มีข้ออักเสบรุนแรง

6.4.8.3. ไขสันหลังถูกทับ

6.4.8.3.1. อาจเกิดจาก

6.4.9. หลอดเลือดอักเสบ

6.4.9.1. พยได้น้อยและมักพบในรายที่เป็นมานาน ร่วมกับอาการนอกข้อระบบอื่น

6.4.9.2. การอักเสบของกลอดเลือดได้ทุกขนาด

6.4.9.2.1. Capillary อักเสบ

6.4.9.2.2. หลอดเลือดขนาดกลางอักเสบ

6.4.10. ระบบทางเดินอาหาร

6.4.10.1. อาการปากแห้ง xerostomia ร่วมกับ keratoconjunctivitis sicca ซึ่งเรียกว่ากลุ่มอาการ Sjogren

6.4.10.1.1. พบว่า

6.4.10.2. ความผิดปกติของตับ

6.4.10.2.1. พบร้อยละ 65

6.4.10.2.2. ลักษณะทางพยาธิเป็น

6.4.11. ระบบไต

6.4.11.1. พบน้อยมาก

6.4.11.2. รายที่เป็นมานานอาจพบภาวะ Amloidosis ของไต

6.4.11.2.1. ตรวจพบ Proteinuria

6.4.12. ภาวะกระดูกพรุน

6.4.12.1. พบได้บ่อย

6.4.12.2. เกิดจาก Cytokines หลั่งออกมาในการอักเสบ โดยเฉพาะ

6.4.12.2.1. Tumor necrosis factor และ Interlukin-1

6.5. อาการแสดง

6.5.1. ระยะเริ่มต้นจะมีอาการอักเสบเรื้อรังของข้อนิ้วมือ ข้อมือ ข้อนิ้วเท้า ข้อเท้าทั้งสองข้าง มีอาการบวมและกดเจ็บบริเวณข้อ

6.5.2. ระยะต่อมามีอาการบวมอักเสบและหนาตัวของเยื่อบุข้อ และลุกลามไปยังข้อใหญ่ เช่น ข้อเข่า ข้อไหล่ได้

6.5.3. บางรายที่มีอาการรุนแรงอาจมีอาการแสดงนอกข้อ เช่น ปุ่มรูมาตอยด์ ไลอดเลือดอักเสบ ตาแห้ง เยื่อบุตาขาวอักเสบ

6.5.4. เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้นจะมีการทำลายข้อ ข้อผิดรูปและเกิดความพิการในที่สุด

7. การรักษา

7.1. จุดมุ่งหมายการรักษา

7.1.1. ระงับเาการเจ็บปวด

7.1.2. ลดการอักเสบ

7.1.2.1. ซึ่งทำให้เกิดอาการปวดและการทำลายข้อ ป้องกัน Joint damage

7.1.3. ลดการทำลายข้อ

7.1.4. เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย

7.2. กรณีการใช้ยา

7.2.1. ที่ 1 ผู้ป่วยมีอาการอักเสบมานานน้อยกว่า 6 สัปดาห์ และยังไม่สามารถบอกได้แน่ชัดว่าเป็นโรครูมาตอยด์/ข้ออักเสบเรื้อรังอื่นๆ

7.2.1.1. แนะนำให้ใช้ NSAIDs

7.2.1.1.1. ถ้าตอบสนองดีจนไม่มีอาการใน 2 สัปดาห์ ไม่จำเป็นต้องใช้ DMARDs

7.2.1.1.2. แต่ถ้าตอบสนองดี แต่อาการไม่หายขาดใน 2 สัปดาห์ให้ติดตามผลการรักษาจนครบ 6 สัปดาห์

7.2.2. ที่ 2 ผู้ป่วยมีอาการมานานกว่า 6 สัปดาห์

7.2.2.1. อาจพิจารณายากลุ่ม NSAIDs

7.2.2.1.1. 4 สัปดาห์ ถ้าไม่เคยได้รัยามาก่อน

7.2.2.2. ถ้าอาการไม่ทุเลาให้พิจารณาเริ่ม DMARDs

7.2.2.2.1. ถ้าเคยรับยา NSAIDs มานานกว่า 4 สัปดาห์อาการไม่ทุเลา ให้เริ่มยา DMARDs เลย

7.3. แนวทางการรักษา

7.3.1. รักษาด้วยยา DMARDs

7.3.1.1. ทุกรายภายใน 3 เดือนหลังให้การวินิจฉัย เพื่อควมคุมโรคให้เข้าสู่ภาวะสงบและชะลอการทำลายข้อให้เร็วที่สุด

7.3.2. รักษาด้วยนา NSAIDs หรือยา Steroid

7.3.2.1. ขนาดต่ำจะพิจารณาเพื่อควบคุมการอักเสบของข้อในระยะแรกระหว่างรอยา DMARDs ออกฤทธิ์

7.4. การพักผ่อนและบริหารร่างกาย มีส่วนสำคัญมากในการรักษาผู้ป่วยโรครูมาตอยด์*

7.5. การป้องกันไม่ให้ข้อถูกทำลายมากขึ้น เป็นสิ่งสำคัญ ผู้ป่วยควรเรียนรู้ และหลีกเลี่ยงการกระทำบางอย่างที่อาจส่งเสริมให้ข้อถูกทำลายเร็วขึ้น

7.6. การผ่าตัด มีบทบาทการรักษาโรครูมาตอยด์ที่ถูกทำบายไปมากแล้ว หรือกรณีเกอดภาวะแทรกซ้อน

8. การพยาบาล

8.1. การส่งเสริมสุขภาพ การปรับตัวกับโรคเรื้อรัง

8.1.1. ไม่สุขสบาย เนื่องจากอาการปวดข้อเรื้อรัง การเคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่ปกติเป็นผลจากการอักเสบและบวดของข้อ

8.1.2. ความอดทนในการทำกิจกรรมลดลงจากการอ่อนเพลีย อ่อนล้า ของร่างกาย

8.1.3. แบบแผนการนอนหลัง การพักผ่อนถูกกรบกวนเนื่องจากอาการปวดข้อ ข้อฝืดแข็ง ปวดกล้ามเนื้อ และกระดูก เป็นผลจากการอักเสบเรื้อรัง

8.1.4. สูญเสียภาพลักษณ์เนื่องจากความผิดปกติของข้อ ข้อผิดรูป

8.1.5. วินกกังวลเกี่ยวกับโรคและการรักษา เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรัง แบบแผนการดำเนินชีวิตเปลี่ยนไป

8.1.6. มีภาวะซึมเศร้า รู้สึกสูญเสียพลังอำนาจ ปฏิบัติไม่ได้ตามบทบาท

8.1.7. ไม่ร่วมมือในการดูแลสุขภาพตามแผนการรักษา ไม่ปฏิสัมพันธ์กับสังคมเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต

9. จัดทำโดย

9.1. นางสาวอาทิตยา จันทลุน เลขที่ 77

9.2. รหัสนักศึกษา 610701080

9.3. ชั้นปีที่ 2