ทฤษฎีการเรียนรู้ รูปแบบและกระบวนการการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับการคิด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ทฤษฎีการเรียนรู้ รูปแบบและกระบวนการการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับการคิด by Mind Map: ทฤษฎีการเรียนรู้ รูปแบบและกระบวนการการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับการคิด

1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม

1.1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ กฎการเรียนรู้

1.1.1. กฎแห่งความพร้อม

1.1.2. กฎแห่งการฝึกหัด

1.1.3. กฎแห่งการใช้

1.1.4. กฎแห่งผลที่พึงพอใจ

1.2. เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้ากับการตอบสนอง

1.2.1. ลองผิด

1.2.2. ลองถูก

1.3. การประยุกต์ใช้

1.3.1. รับประสบการณ์ที่ได้รับรางวัลเกิดความสุข การคิดเรียนรู็ดี

1.3.2. การเสริมแรง การให้รางวัล การชมเชย

1.3.3. ฝึกฝนสมองส่วนต่างๆซ้ำๆส่งผลการเรียนรู้ถาวร

2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม

2.1. ทฤษฎีลำดับขั้นแรงจูงใจของมาสโลว์

2.1.1. ความต้องการทางสรีระ

2.1.2. ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย

2.1.3. ความต้องการเป็นเจ้าของ

2.1.4. ความต้องการมีศักดิ์ศรีจากตนเองและผู้อื่น

2.1.5. ความต้องการเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์

2.2. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากเเรงจูงใจของตนเอง

2.3. การประยุกต์ใช้

2.3.1. จูงใจให้คิดตามด้วยรางวัล

2.3.2. จัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้อบอุ่น

2.3.3. มีการแบ่งกลุ่มทำงานร่วมกับผู้อื่น

2.3.4. สับสนุนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม

3.1. กระบวนการทางสติปัญญา

3.1.1. การซึมซับหรือการดูดซึม

3.1.2. การปรับและจัดระบบ

3.1.3. การเกิดสมดุล

3.2. พัฒนาการตามวัยของเพียเจต์

3.2.1. ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส

3.2.2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด

3.2.3. ขั้นการคิดแบบรูปธรรม

3.2.4. ขั้นการคิดแบบนามธรรม

3.3. กระบวนการทางการคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูลดึงข้อมูลมาใช้ในการแก้ปัยหา

3.4. การประยุกต์ใช้

3.4.1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้

3.4.2. คำนึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กที่แตกต่างกัน

3.4.3. การสอนใช้สื่อที่เป็นรูปธรรม

4. ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล

4.1. กระบวนการรู้คิด

4.1.1. ความใส่ใจในการรับรู้

4.1.2. การรับรู้

4.1.3. กลเม็ดต่าง ๆ

4.2. กระบวนการทางสมองเกิดจากสิ่งเร้าผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5 โดยมีกลไกลทางสมองที่ตอบสนองต่อข้อมูล นำไปบันทึกในหน่วยความจำ

4.3. การประยุกต์ใช้

4.3.1. ใช้สื่อที่รู้จัก

4.3.2. ใช้สื่อทำให้ผู้เรียนสนใจ

4.3.3. ใช้เทคนิควิธีการต่างๆ

4.3.4. ฝึกฝนให้ผู้เรียนใช้กระบวนการของตนเอง

5. ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

5.1. มาจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์และวีก็อทสกี

5.2. ให้ความสำคัญกับกระบวนและวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์

5.3. แนวคิดการสร้างองค์ความรู้

5.3.1. โดยการสอนการให้ประสบการณ์

5.3.2. การเรียนผ่านกิจกรรมที่เป็นนามธรรม

5.3.3. ได้จากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว

5.4. องค์ประกอบที่สำคัญ

5.4.1. ความรู้เดิม

5.4.2. กระบวนการทางปัญญา

5.4.3. ข้อมูลใหม่

5.5. การประยุกต์ใช้

5.5.1. ฝึกฝนให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยเอง

5.5.2. เปลี่ยนการถ่ายถอดความรู้เป็นการสาธิต

5.5.3. ผู้เรียนรับประสบการณ์ตรง

5.5.4. ส้างบรรยากาศทางสังคม

5.5.5. ผู้เรียนมีบทบาทในการรู้

5.5.6. ผู้สอนเป็นผู้สร้างแรงจูงใจ

5.5.7. การวัดการประเมินยืดหยุ่น

6. ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างชิ้นงาน

6.1. มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์

6.2. ผู้พัฒนาทฤษฎีนี้คือ ซีมัวร์ เพเพอร์ท

6.3. การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากสร้างความรู้ในตนเองด้วยตนเองนำความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงาน

6.4. การประยุกต์ใช้

6.4.1. เตรียมสื่อ

6.4.2. ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่งเสริมการสร้างผลงาน

6.4.3. บูรณาการวิชาต่าง ๆ

6.4.4. จัดบรรยากาศ หลากหลาย มีความแตกต่าง มึความเป็นมิตร

7. ทฤษฎีพหุปัญญา

7.1. เชาว์ปัญญา 8 ด้าน (การ์ดเนอร์)

7.1.1. ด้านภาษา

7.1.2. ด้านคณิตศาสตร์

7.1.3. ด้ารมิติสัมพันธ์

7.1.4. ด้านคนตรี

7.1.5. ด้านการเคลื่อนไหวร่่างกาย

7.1.6. ด้านการสัมพันธ์กับผู้อื่น

7.1.7. ด้านการเข้าใจตนเอง

7.1.8. ด้านความเข้าใจธรรมชาติ

7.2. การประยุกต์ใช้

7.2.1. จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย

7.2.2. จัดกิจกรรมเหมาะสมกับขั้นพัฒนาการ

7.2.3. ส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ของผู้เรียน

7.2.4. วัดประเมินผลหลายๆด้าน

7.3. ความสามารถในการแก้ปัญหาในสภาพแวดล้อมต่างๆเพื่อหาคำตอบและเพิ่มพูนความรูั

8. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ

8.1. สลาวิน เดวิด จอห์นสัน และรอเจอร์ จอห์นสัน

8.2. กรเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย สามชิกคละความสามารถ ประมาณ 3-6 คน ช่วยกันนำไปสู่เป้าหมายของกลุ่ม

8.3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน

8.3.1. แข่งขันกัน

8.3.2. ต่างคนต่างเรียน

8.3.3. รวมมือกัน

8.4. องค์ประกอบ

8.4.1. พึ่งพาและเกื้อกูลกัน

8.4.2. ปรึกษษหารือกันอย่างใกล้ชิด

8.4.3. ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน

8.4.4. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการทำงานกลุ่ม

8.4.5. กรวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม

8.5. การประยุกต์ใช้

8.5.1. ด้านการวางแผนการจัดการเรียนการสอน

8.5.1.1. กำหนดจุดมุ่งหมาย

8.5.1.2. กำหนดขนาดของหกลุ่ม 3-6 คน

8.5.1.3. กำหนดองค์ประกอบของกลุ่ม คละกันในด้านต่างๆ

8.5.1.4. กำหนดบทบาทสมาชิก

8.5.1.5. จัดสถานที่ให้เหมาะสม

8.5.1.6. จัดงาน วัสดุ สาระ ให้ผู้เรียน

8.5.2. ด้านการสอน

8.5.2.1. ชี้แจงจุดมุ่งหมาย

8.5.2.2. อธิบายเกณฑ์การประเมิน

8.5.2.3. อธิบายความสำคัญของการพึ่งพาและเกื้อกูลกัน

8.5.2.4. ฮอบายวิธีการช่วยเหลือระหว่างกลุ่ม

8.5.2.5. อธิบายความสำคัญความรับผิดชอบต่อหน้าที่่

8.5.2.6. ชี้แจงพฤติกรรมที่คาดหวัง

8.5.3. ด้านการควบคุมช่วยเหลือกลุ่ม

8.5.3.1. ให้สมาชิกปรึกษากันอย่างใกล้ชิด

8.5.3.2. ความเข้าใจบทบาทของตนเองที่รับมอบหมาย

8.5.3.3. ชี้แจง สอนซ้ำ

8.5.4. กรประเมินผล

8.5.4.1. ทั้งปริมาณและคุณภาพ ด้วยวิธีหลากหลาย ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมิน

8.5.4.2. จัดเวลาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงข้อบกพร้อง