โภชนาการตามวัย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
โภชนาการตามวัย by Mind Map: โภชนาการตามวัย

1. บทที่4 อาหารและโภชนาการสำหรับวัยรุ่น

1.1. สารอาหารที่ต้องการ

1.1.1. 1.พลังงาน

1.1.1.1. วัยรุ่นชายควรได้รับพลังงานมากกว่าวัยรุ่นหญิง

1.1.2. 2.คาร์โบไฮเตรด

1.1.2.1. ควรได้รับสัดส่วนร้อยละ 55-60 ของพลังงานทั้งหมด

1.1.3. 3.โปรตีน

1.1.3.1. เสริมสร้างกล้ามเนื้อ สร้างภูมิคุ้มกัน

1.1.4. 4.ไขมัน

1.1.4.1. ร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด

1.1.5. 5.แร่ธาตุ

1.1.5.1. วัยรุ่นต้องการแคลเซียมและฟอสฟอรัส อัตราส่วน 1.5-2 : 1

2. บทที่5 อาหารและโภชนาการสำหรับผู้บริโภคในวัยทำงานและหญิงเจริญพันธุ์

2.1. 1.คนวัยทำงานมักทานอาหารไม่ครบ 3 มื้อ

2.2. 2.วัยทำงานพบว่าร้อยละ 60-70 ไม่ทานอาหารเช้า

2.3. 3.วัยทำงานมักทานอาหารมื้อเย็นเป็นส่วนมากเป็นอาหารตามสั่ง

2.4. 4.ส่วนมากซื้อจากตลาดหรือซุปเปอร์มาร์เกต

3. บทที่6 อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ

3.1. 1.พลังงาน

3.1.1. ความต้องการลดลงเมื่อมีอายุเพิ่มขึ้น

3.2. 2.คาร์โบไฮเดรต

3.2.1. ร้อยละ 45-65 ของพลังงานที่แนะนำให้ผู้สูงอายุ คือ ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ

3.3. 3.โปรตีน

3.3.1. ควรบริโภคต่อวัน คือ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัวต่อ 1 กิโลกรัม

3.4. 4.ไขมัน

3.4.1. ร้อยละ 20-35 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน

3.5. 5.แร่ธาตุและวิตามิน

3.5.1. ต้องการวิตามินD B6 และ B12 เพิ่มมากขึ้น

3.6. 6.ใยอาหาร

3.6.1. ต้องการ 25 กรัมต่อวัน เป็นใยอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย

3.7. 7.น้ำ

3.7.1. น้ำดื่มประมารวันละ 6-8 แก้ว เป็นประจำทุกวัน

4. นางสาว วนาลี ปันสม เลขที่ 70

5. บทที่1 คำแนะนำการบริหาร

5.1. สมมุติฐานของบาร์กเกอร์

5.1.1. ความสำคัญของโภชนาการของมารดาต่อทารกในครรภ์มีอิทธิพลต่อสุขภาพของทารกภายหลังคลอดและยังส่งผลไปถึงความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย

5.2. อาหารและพลังงานสำหรับแม่

5.2.1. มีความต้องการพลังงานที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยและต้องการพลังงานเพิ่มมากขึ้นเรื่อย

5.2.2. อาหารที่ควรรับประทานเพิ่มมากกว่าเดิม เช่น ข้าวแป้ง เนื้อสัตว์ ไขมัน นม

5.2.3. โฟเลต-เหมาะกับหญิงในวัยเจริญพันธุ์

5.2.4. ธาตุเหล็ก-เป็นอาหารที่ให้ปริมาณสูง เช่น เนื้อสัตว์ เนื้อหมู

5.2.5. แคลเซียมและวิตามินดี-หญิงมีครรภ์และให้นมบุตรควรเลือกดื่มนมที่ไขมันต่ำวันละ 1 แก้ว

5.3. ต้องการปริมาณน้ำในระหว่างตั้งครรภ์

5.3.1. มีความต้องการน้ำมากกว่าปริมาณ 750 ซีซีถึง 1000 ซีซี

5.4. อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงในหญิงตั้งครรภ์

5.4.1. ได้แก่ ปลาและเนื้อสัตว์ที่ดิบ , นมที่ไม่ผ่านพาสเจอร์ไรซ์ , ผักที่ไม่ผ่านการล้างให้สะอาด

6. บทที่2 อาหารและโภชนาการสำหรับทารกแรกเกิดจนถึงอายุ 5 ขวบ

6.1. ในทารกและเด็กต้องการสารอาหารที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับอายุ เพศ และน้ำหนักตัว

6.2. เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่

6.2.1. นมแม่ในปริมาณ 100 มิลลิตร ให้โปรตีน 1.1 กรัม

6.2.2. ไขมัน 4-4.5 กรัม , พลังงาน 67-75 กิโลแคลอรี่

6.2.3. ทารกต้องการวิตามินและแร่ธาตุต่างที่สามารถสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคได้ด้วย

6.3. อาหารตามวัยสำหรับทารก

6.3.1. สำหรับ 6 เดือนขึ้นไปต้องการสารอาหารครบ 5 หมู่

6.4. อาหารสำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี

6.4.1. เป็นวัยที่มีกิจกรรมการเคลี่ยนไหวที่มากขึ้น ทำให้ต้องการสารอาหารเพิ่มมากขึ้น

6.5. ไขมัน

6.5.1. เด็กอายุ 3-5 ปี ไม่ควรได้รับไขมัน ร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด

7. บทที่3 อาหารและโภชนาการสำหรับเด็กระดับประถมศึกษา 6-12 ปี

7.1. เด็กวัยนี้ต้องการปริมาณอาหารที่บริโภคทุกวัน

7.1.1. 1.กลุ่มข้าวแป้ง

7.1.1.1. ควรทานวันละ 7-8 ทัพพี

7.1.2. 2.กลุ่มผัก

7.1.2.1. ควรทานผักให้หลากหลายให้ได้ 4 ทัพพีต่อวัน

7.1.3. 3.กลุ่มผลไม้

7.1.3.1. ควรรับประทานผลไม้สด วันละ 3 ส่วน

7.1.4. 4.กลุ่มเนื้อสัตว์

7.1.4.1. ควรบริโภคแต่พอดี

7.1.5. 5.กลุ่มนม

7.1.5.1. ควรบริโภคทุกวัน

7.1.6. 6.ไขมัน

7.1.6.1. รับประทานไม่เกินวันละ 5 ช้อนชา