สรุปเนื้อหาบทที่5

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สรุปเนื้อหาบทที่5 by Mind Map: สรุปเนื้อหาบทที่5

1. 1 โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับปฏิบัติการ (OS utility Program) 2 โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับการปฏิบัติการอื่นๆ ( standalone utility Program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. ระบบปฏิบัติการ หรือ Os เป็นซอฟแวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมเเละประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด

3. ซอฟแวร์ระบบ (system software)

3.1. ระบบปฏิบัติการ

3.2. โปรแกรมอรรถประโยชน์

4. องค์ประกอบของซอฟแวร์

4.1. ซอฟแวร์คือชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ตามต้องการ

4.2. ผู้เขียนชุดคำสั่งนี้ขึ้นมาเรามักเรียกว่า"นักเขียนโปรแกรม" (Developer)

5. ซอฟแวร์ประยุกต์ (application software)

5.1. แบบตามลักษณะการผลิต

5.2. แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน

6. ประเภทของซอฟแวร์

7. มีคุณสมบัติทำงานเเบบต่างๆดังนี้

7.1. 1) การทำงานแบบ multi-tasking ความสามารถในการทำงานได้หลายๆงาน 2) การทำงานแบบ multi-user ในระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าได้ด้วยกันแบบเครือข่าย

8. ประเภทของระบบปฏิบัติการแบ่งเป็น 4 ประเภท

8.1. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (Standalone os) Dos/Windows/mac os x

8.2. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) Windows Server/ Unix/Linux

8.3. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS) Android iOS/Rtos/linux

8.4. ระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์พกพา (mobile OS) Android/ios/harmony os / nods, Symbian, blackberry, windows mobile

9. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program

9.1. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่างเพื่อจัดการงานพื้นฐานและบริการต่างๆ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทดังนี้

10. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ Application Software

10.1. เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะด้านเท่านั้นไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์แต่ จะทำงานได้โดยเรียกใช้อุปกรณ์ต่างๆอีกทอดหนึ่งซอฟต์แวร์กลุ่มนี้แบ่งได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะ

10.2. 1 แบ่งตามลักษณะการผลิตได้ 2 ประเภทคือ -ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาใช้เองโดยเฉพาะ (proprietary software) - ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป (off-the- shelf software หรือ Packaged Software) 2 แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้ 3 กลุ่มใหญ่คือ -กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (Business) -กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (Graphic and Multimedia) -กลุ่มสำหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร (web and communication)

11. โปรแกรมภาษา

11.1. โปรแกรมภาษาหรือซอฟต์แวร์ที่จะส่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานนั้นถูกเขียนด้วยภาษาที่เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมสามารถแบ่งออกได้ 3 แบบคือ

11.2. 1 ภาษาเครื่องเป็นภาษาของคอมพิวเตอร์โดยมีโครงสร้างและพื้นฐานเป็นเลขฐานสองและตัวสตริง 2 ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ได้ปรับปรุงให้ง่ายขึ้นโดยสร้างรหัสและสัญลักษณ์แทนตัวเลขซึ่งเรียกว่าภาษาที่ใช้สัญลักษณ์จะใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง 3 ภาษาระดับสูงเนื่องจากภาษาที่ใช้สัญลักษณ์อย่างยากต่อการเข้าใจของมนุษย์จึงได้มีการพัฒนาให้เป็นคำสั่งที่มีความหมายเหมือนกับมนุษย์ที่ใช้กัน

12. โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ Translator

12.1. การพัฒนาคอมพิวเตอร์ผู้เขียนโปรแกรมจะเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับลักษณะงานและความถนัดของผู้เขียนโปรแกรมลักษณะโครงสร้างของภาษาต่างกันไปตัวแปลภาษาสามารถแบ่งตามลักษณะการทำงานได้ 3 ประเภท

12.2. 1) คอมไพเลอร์ ตัวแปลภาษาให้เป็นภาษาเรื่องการทำงานจะใช้หลักการแปรต้นฉบับ -ข้อดีของภาษาสามารถช่วยบอกข้อผิดพลาดเวลาเราเขียนโปรแกรมพร้อมวิธีแก้เบื้องต้นให้ -ข้อเสียภาษาที่คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะมีข้อกำหนดด้านภาษามากทำให้ผู้เขียนเรียนรู้ยากกว่าภาษาในกลุ่ม อินเทอร์พรีเตอร์ 2) อินเทอร์พรีเตอร์ เป็นตัวแปลระดับสูงเช่นเดียวกับคอมไพเลอร์จะแปรพร้อมกับทำงานตามคำสั่งทีละคำสั่งตลอดไปทั้งโปรแกรม -ข้อดีส่วนใหญ่จะมีรูปแบบการเขียนง่ายเหมาะกับมือใหม่ -ข้อเสียเนื่องจาก อินเทอร์พรีเตอร์ส่วนใหญ่ไม่สามารถตรวจเช็คโค้ดช่วยเราได้เยอะเท่าคอมไพเลอร์โอกาสที่เวลาเอาไปรับแล้ว Error จะมีมากกว่า 3) แอสเซมเบลอร์ ซึ่งเป็นภาษาระดับต่ำให้เป็นภาษาเครื่องในปัจจุบันมีหลักการแปลภาษาคอมพิวเตอร์แบบใหม่เกิดขึ้นมาคือแปลจากซอร์สโค้ดไปเป็นรหัสชั่วคราว