พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540 by Mind Map: พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540

1. มาตราที่ 4 : เพิ่มบทนิยามคำว่า“การประกอบวิชาชีพการพยาบาล” และ“การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์” ระหว่างบทนิยามคำว่า “การผดุงครรภ์” กับคำว่า“ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล”

1.1. "การประกอบวิชาชีพการพยาบาล" การฝึกปฏิบัติหน้าที่การพยาบาลต่อผู้ใหญ่และชุมชนโดยชอบการกระทำต่อไปนี้ 1.การสอนการแนะนำการให้คำปรึกษากับสุขภาพอนามัย 2.การกระทำต่อ ร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดระเบียบสถานการณ์เพื่อควบคุม ความผิดปกติของการรักษาอาการป่วยของโรคการรักษาโรคและการรักษาสภาพ 3.การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ใน การรักษาโรคและการให้ยา 4.ช่วยเหลือผู้ป่วยการ รักษาโรคโดยวิธีการทำงานและการโรงพยาบาลในห้องพยาบาล

1.2. “ การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์” ปฏิบัติว่าการปฏิบัติหน้าที่การผดุงครรภ์ต่อหญิงมีครรภ์หลังคลอดก่อนเกิดและครอบครัวโดยการกระทำดังต่อไปนี้ 1.การสอนการแนะนำการให้คำปรึกษาและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สุขภาพอนามัย 2.การกระทำผิดต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีหญิงสาวหลังคลอดภายในระยะแรกเกิดเพื่อป้องกันความผิดปกติในช่วงระยะเวลาคลอดและระยะหลังคลอด 3.การตรวจการทำความสะอาดและการวางแผนครอบครัว 4.ช่วยเหลือคนไข้การรักษาโรค

2. มาตรา 5 : ให้เพิ่มบทนิยามคำว่า “พนักงานเจ้าหน้าที่”

2.1. “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้”

3. มาตราที่ 3 : มีการเปลี่ยนแปลงความหมายของคำว่า การพยาบาลและการผดุงครรภ์ ความว่า

3.1. **การพยาบาล หมายความว่า การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพรวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษา โรคทั้งนี้โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล

3.2. **การผดุงครรภ์ หมายความว่า การกระทำเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด รวมถึงการตรวจ การทำคลอด การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอดรวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์กระทำการักษาโรค ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์ และศิลปะการผดุงครรภ์

4. หมวด 1 สภาการพยาบาล

4.1. มาตรา 6 : เป็นนิติบุคคล มาตรา 7 : วัตถุประสงค์ มาตรา 8 : อำนาจหน้าที่ มาตรา 9 : รายได้ของสภาการพยาบาล มาตรา 10 : ให้รัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง...สภานายกพิเศษ

5. หมวด 2 สมาชิก

5.1. มาตรา11:ประเภทของสมาชิกการพยาบาล มาตรา 12:สิทธิหน้าที่ มาตรา 13:การสิ้นสุดสมาชิกภาพ

6. หมวด 3 กรรมการ

6.1. มาตรา 14:จำนวนคณะกรรมการ มาตรา 15:กรรมการที่ปรึกษา มาตรา16:การเลือกนายกสภาการพยาบา]และอุปนายก มาตรา17:แนวทางการจัดการเลือกตั้งให้ปฏิบัติตามข้อบังคับ มาตรา 18: คุณสมบัติของกรรมการ มาตรา19:การดำรงตำแหน่งของกรรมการ มาตรา20:การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการ มาตรา 21:กรณีที่ตำแหน่งกรรมการว่างลง มาตรา 22:อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ มาตรา23:อำนาจหน้าที่ของนายกสภาอุปนายก

7. หมวด4การดำเนินกิจกรรมของกรรมการ

7.1. มาตรา 24 : การประชุมของกรรมการ มาตรา25:การเข้าร่วมประชุมของสภานายกพิเศษ มาตรา 26 : มติของที่ประชุม

8. หมวด 5 การควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์

8.1. มาตรา 27:ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งไม่ได้มาประกอ[วิชาชีพและข้อยกเว้น มาตรา 28:การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาตฯลฯ มาตรา 29:ประเภทของการขึ้นทะเบียนการออกใบอนุญาตฯลฯ มาตรา30:ผู้ที่มีสทธิของการขึ้นทะเบียนการออกใบอนุญาตฯลฯ มาตรา 31-45:ผู้ที่มีสทธิของ

9. หมวด 5 ทวิ พนักงานเจ้าหน้าที่

9.1. มาตรา45 ทวิ:อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา45 ตรี:การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา45จัตวา:ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามพรบ. มาตรา45เบญ:การอำนวยความสะดวกให้พนักงานเจ้าหน้าที่

10. หมวด 6 บทกำหนดโทษ

10.1. มาตรา๔๖-๔๘:โทษสำหรับผู้ไม่ปฏิบัติตามพรบ. ประกอบด้วย มาตรา ๒๗ มาตรา ๔๓ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๘ และ มาตรา ๔๕ เบญจ

11. ส่วนท้ายของ พรบ.

11.1. อัตราค่าธรรมเนียม ค่าขึ้นทะเบียน ค่ารับใบอนุญาต ค่าหนังสืออนุมัติ ค่าหนังสือรับรอง ค่าใบแทนใบอนุญาต

12. นางสาวสุกัญญา แก้วสุวรรณ เลขที่083 รหัส 62122301083