การอ่านภาษาไทยเพื่อความรู้

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การอ่านภาษาไทยเพื่อความรู้ by Mind Map: การอ่านภาษาไทยเพื่อความรู้

1. งานเขียน หมายถึง งานแต่งหนังสือทั่วไป ใช้ในความหมายกว้างที่รวมทั้งการเขียนตัวเลขและการวาดภาพ

2. บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงาน เขียนและงานประพันธ์

2.1. ความหมายของงานเขียนและงานประพันธ์

2.1.1. งานประพันธ์ หมายถึง งานที่แต่งเรียบเรียงขึ้นอย่างมีวรรณศิลป์ ใช้ในความหมายเฉพาะที่เป็นงานประเภทร้อยกรองหรือวรรณคดี

2.2. ความสำคัญของงานเขียนและงานประพันธ์

2.2.1. เป็นแหล่งสั่งสมและถ่ายทอดประเพณี วัฒนธรรม วิทยาการหรือภูมิปัญญา

2.2.2. เป็นแหล่งสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและความประพฤติ

2.2.3. เป็นสถานบันเทิงสร้างความเพลิดเพลินและจรรโลงใจ

2.3. รูปแบบของงานเขียนและงานประพันธ์

2.3.1. 1 รูปแบบการเขียนหรือการแต่ง

2.3.1.1. ร้อยแก้ว

2.3.1.2. ร้อยกรอง

2.3.2. 2 รูปแบบการนำเสนอ

2.3.2.1. สื่อสิ่งพิมพ์

2.3.2.2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์

2.3.2.3. สื่อตัวอักษร

2.3.2.4. สื่อภาพ

2.3.2.5. สื่อผสม

2.4. ประเภทของงานเขียนและงานประพันธ์

2.4.1. งานเขียนประเภทวิชาการ

2.4.2. งานเขียนประเภทสารคดี

2.4.3. งานเขียนประเภท บันเทิงคดี

2.5. จุดมุ่งหมายของงานเขียนและงานประพันธ์

2.5.1. เพื่อให้ความรู้

2.5.2. เพื่อโน้มน้าวใจ

2.5.3. เพื่อสร้างจินตนาการและจรรโลงจิตใจ

3. บทที่ 2 หลักการอ่านจับใจความสําคัญ

3.1. ความหมายของการอ่านจับใจความสำคัญ

3.1.1. การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญกับการอ่านเพื่อย่อความ

3.1.2. การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญกับการอ่านเพื่อสรุปความ

3.1.3. การอ่านเพื่อจับใจความสําคัญคือการอ่านเพื่อสรุปความ

3.2. ลักษณะของการอ่านจับใจความสําคัญ

3.2.1. การอ่านจับใจความสำคัญ เป็นการอ่านมุ่งค้นหาสาระของย่อหน้า เรื่อง หรือหนังสือ ว่าคืออะไร ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนใจความสำคัญและส่วน ขยายหรือประกอบใจความสำคัญ

4. บทที่ 3 หลักการอ่านวิเคราะห์

4.1. ความหมายของการอ่านวิเคราะห์

4.1.1. คือการอ่านเพื่อพิจารณา รายละเอียด ของงานเขียนในด้าน การประกอบสร้าง เป็นงานเขียนขึ้นมาเหมือนการแยกชิ้น ส่วนต่างๆออกมาดูให้เห็นว่าสิ่งนั้นๆ ประกอบขึ้นด้วยอะไรมีหน้าที่ลักษณะ อย่างไร

4.2. ลักษณะของการอ่านวิเคราะห์

4.2.1. การอ่านวิเคราะห์ อ่านจำแนกแยกแยะ ส่วนประกอบของงานเขียน ได้แก่ รูป แบบหรือประเภทของงานเขียน เนื้อหาหรือ เรื่องราว การใช้ภาษา และกลวิธีนำเสนอ

4.2.2. 1. รูปแบบหรือประเภทของงานเขียน

4.2.3. 2. เนื้อหาหรือเรื่องราวของงานเขียน

4.2.4. 3. การใช้ภาษา

4.2.4.1. การใช้คำให้ถูกต้องตามความหมาย

4.2.4.2. การใช้คำให้ถูกต้องตามไวยากรณ์

4.2.4.3. การใช้คำให้เหมาะสมกับบุคคล

4.2.4.4. การใช้คำให้เหมาะสมกับโอกาส

4.2.4.5. การใช้ประโยคให้ถูกต้องตามไวยากรณ์

4.2.4.6. การใช้ประโยคไม่กำกวม

4.2.4.7. การใช้ประโยคให้กะทัดรัด

4.2.5. 4. กลวิธีนำเสนองานเขียนหรือเรื่องราว

4.2.5.1. 1. การเปิดเรื่อง

4.2.5.2. 2. การดำเนินเรื่อง (หรือการนำเสนอเนื้อหา)

4.2.5.3. 3. การปิดเรื่อง

5. บทที่ 4 หลักการอ่านวิจารณ์

5.1. ความหมายของการอ่านวิจารณ์

5.1.1. การอ่านวิจารณ์คือการอ่านเพื่อ ตีความ ประเมินค่างานเขียน ผ่านความ คิดความรู้สึก มุมมองความเชื่อ หรือ ประสบการณ์ความรู้ที่ผู้อ่านมี

5.2. ลักษณะของการอ่านวิจารณ์

5.2.1. การอ่านวิจารณ์อ่านเพื่อพิจารณาเนื้อหา ของเรื่อง ว่ามีความน่าเชื่อถือ สมเหตุสมผล ดีหรือไม่ดี หรือสามารถนำมาใช้ ประโยชน์ได้หรือไม่อย่างไร

5.2.2. ข้อพึงระวัง การอ่านวิจารณ์นี้จะมีความ น่าเชื่อถือและมีประโยชน์ได้ ผู้อ่านต้อง มีหลักความรู้ความคิดที่เหมาะสมกับงาน ที่ตนอ่าน

5.2.3. หลักความรู้ความคิด ทฤษฎี ในการอ่าน วิจารณ์มีหลากหลายเช่น

5.2.3.1. การวิจารณ์แนวประวัติ

5.2.3.2. การวิจารณ์แนวสังคม

5.2.3.3. การวิจารณ์แนวจิตวิทยา

5.2.3.4. การวิจารณ์แนวสุนทรียศาสตร์

5.2.3.5. การวิจารณ์แนว post modern หรือ หลังโครงสร้างนิยม

6. บทที่ 5 งานเขียนบันเทิงคดี

6.1. ความหมายของงานเขียนบันเทิงคดี

6.1.1. งานประพันธ์ หมายถึง งานที่แต่งเรียบ เรียงขึ้นอย่างมีวรรณศิลป์ ใช้ในความ หมายเฉพาะที่เป็นงาน ประเภทร้อย กรองหรือวรรณคดี

6.2. ลักษณะของงานเขียนบันเทิงคดี

6.2.1. งานเขียนที่มีจุดประสงให้ความ เพลิดเพลินบันเทิงใจ แต่ก็ไม่ได้ไร้สาระ เพราะมีสาระทางด้านในปรัชญาความ คิด ด้านประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง วัฒนธรรมประเพณี เป็นงานเขียนที่มุ่ง เน้นการกระทบอารมณ์ และความรู้สึก นึกคิดของผู้อ่าน

6.3. องค์ประกอบของงานเขียนบันเทิงคดี

6.3.1. 1. แก่นเรื่อง หรือสารัตถะ ของเรื่อง (Theme)

6.3.1.1. 1.แก่นเรื่องใหญ่ เป็นแก่นหรือแกนกลาง ของเรื่อง เรื่องราว พฤติกรรมเหตุการณ์ ทั้งหมดของเรื่อง จะเกี่ยวโยงกับแก่น เรื่องใหญ่นี้

6.3.1.2. 2. แก่นเรื่องย่อย แก่นเรื่องกางของ พฤติกรรมหรือเหตุการณ์ใดเหตุการณ์ หนึ่งในเรื่อง

6.3.2. 2 โครงเรื่องหรือลำดับ เหตุการณ์ (Plot)

6.3.2.1. โครงเรื่องแบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้

6.3.2.1.1. โครงเรื่องใหญ่ (Main Plot)

6.3.2.1.2. โครงเรื่องย่อย (Sub Plot)

6.3.2.2. โครงเรื่องแยกออกเป็น 3 ตอนได้แก่

6.3.2.2.1. การเปิดเรื่อง

6.3.2.2.2. การดำเนินเรื่อง

6.3.2.2.3. การปิดเรื่อง

6.3.3. 3. ตัวละคร (Character)

6.3.3.1. ตัวละครแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ

6.3.3.1.1. 1. ตัวละครลักษณะเดียว

6.3.3.1.2. 2. ตัวละครหลากหลายลักษณะ

6.3.3.2. การสร้างตัวละครมี 4 วิธีดังนี้

6.3.3.2.1. 1.สร้างให้สมจริง (Realistic)

6.3.3.2.2. 2. สร้างตามอุดมคติ (Idealistic)

6.3.3.2.3. 3. สร้างแบบเหนือจริง (Surrealistic)

6.3.3.2.4. 4. สร้างโดยใช้ตัวละครแบบฉบับ (Type)

6.3.4. 4. ฉาก (Setting)

6.3.4.1. ภูมิประเทศ

6.3.4.2. อาชีพ

6.3.4.3. เวลา

6.3.4.4. สภาพแวดล้อมทั่วไปของตัวละคร

6.3.4.5. การนำเสนอฉากมี 2 แบบคือ

6.3.4.5.1. 1. นำเสนอโดยใช้บทพรรณนาไว้ตอน เริ่มเรื่อง

6.3.4.5.2. 2. นำเสนอโดยให้รายละเอียดเกี่ยวกับ เวลาและสถานที่กระจายไว้ตลอดเรื่อง

6.3.5. 5. มุมมอง

6.3.5.1. 1. ใช้สรรพนามบุรุษที่หนึ่งซึ่งเป็นตัวละครสำคัญเป็นผู้เล่า

6.3.5.2. 2. ใช้สรรพนามบุรุษที่หนึ่งซึ่งเป็นตัวละครรองเป็นผู้เล่า

6.3.5.3. 3. ผู้แต่งในฐานะผู้รู้แจ้งเห็นจริงเป็นผู้เล่า

6.3.5.4. 4. ผู้แต่งในฐานะผู้สังเกตการณ์เป็นผู้เล่า

6.3.5.5. 5. ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 เป็นผู้เล่าด้วย วิธี กระแสจิตประหวัดหรือกระแสสำนึก

6.3.6. 6. บทสนทนา (Dialogue)

6.3.6.1. ช่วยดำเนินเรื่องแทนการบรรยายของผู้ แต่งและเป็นการดำเนินเรื่องโดยตรงใน บทละคร

6.3.6.2. ช่วยให้รู้จักตัวละครในเรื่อง

6.3.6.3. สร้างความสมจริงให้ผู้อ่านรู้สึกว่าเป็น เรื่องเกิดขึ้นจริง

6.3.6.4. ช่วยให้งานเขียนไม่ซ้ำจำเจ น่าอ่าน มี ชีวิตชีวา

6.4. ประเภทของงานเขียนแนวบันเทิงคดี

6.4.1. 1. นิทาน

6.4.2. 2. นวนิยาย

6.4.3. 3. เรื่องสั้น

6.4.4. 4. บทละคร

6.4.5. 5. บทกวี

7. บทที่ 6 งานเขียนแนวสารคดี

7.1. ความหมายของงานเขียนแนวสารคดี

7.1.1. คือ งานเขียนที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับข้อเท็จจริง เสนอเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลที่มีตัว ตนจริง สถานที่จริงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง มุ่งให้สาระ ความรู้ ความคิด

7.2. ลักษณะของงานเขียนแนวสารคดี

7.2.1. เนื้อหามีสาระประโยชน์มุ่งให้เกิดความรู้ความคิดแก่ผู้อ่าน

7.2.2. ใช้ภาษาชัดเจน ไม่คลุมเครือ เร้าใจและจูงใจ

7.2.3. เนื้อหามีความหลากหลายไม่จำกัดเรื่องใดเฉพาะ

7.2.4. เนื้อหาไม่ร้ายสมัยเกินไปและไม่จำกัดเวลาเหมือนข่าว

7.2.5. ใช้สำนวนภาษาสร้างความเพลิดเพลิน มุ่งผ่อนคลายความเครียดในชีวิตประจำวัน

7.2.6. มีรูปแบบขึ้นอยู่กับกลวิธีการเขียนของผู้แต่งแต่ละคน

7.2.6.1. โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปแบบบทความหรือ ความเรียง ที่มี 3 องค์ประกอบ

7.2.6.1.1. ส่วนนำ

7.2.6.1.2. ส่วนเนื้อเรื่อง

7.2.6.1.3. ส่วนสรุป

7.3. องค์ประกอบของงานเขียนแนวสารคดี

7.3.1. 1. บทนำ

7.3.1.1. เป็นการเริ่มต้นเรื่องให้ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหา

7.3.1.2. เป็นการนำเสนอเนื้อหาหรือประเด็นไว้ กว้างๆ

7.3.1.3. ส่วนใหญ่เป็นย่อหน้าแรกของงานเขียน

7.3.1.4. ทั้งนี้ก็เพื่อให้ผู้อ่านเห็นทางหรือภาพรวมของงานเขียน

7.3.2. 2. เนื้อเรื่อง

7.3.2.1. เป็นส่วนเชื่อมโยงกับบทนำ

7.3.2.2. เช่น มีการยกตัวอย่าง สถิติ มีการอ้างอิง เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ

7.3.2.3. เนื้อเรื่องส่วนใหญ่มีหลายย่อหน้า

7.3.3. 3. บทสรุป

7.3.3.1. เป็นข้อความตอนท้ายของเรื่อง

7.3.3.2. เช่น การเขียนสรุปโดยใช้สำนวนโวหาร

7.3.3.3. ส่วนใหญ่เป็นย่อหน้าสุดท้ายของงานเขียน

7.4. ประเภทของงานเขียนแนวสารคดี

7.4.1. 1. สารคดีวิชาการหรือเชิงความรู้

7.4.2. 2. สารคดีชีวิตบุคคล

7.4.3. 3. สารคดีวิถีชีวิต วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม

8. บทที่ 7 งานเขียนแนววิชาการ

8.1. ความหมายของงานเขียนวิชาการ

8.1.1. คือ งานเขียนที่มุ่งให้ความรู้ทางวิชาการด้านใดด้านหนึ่ง หรือเพื่อเสนอแนวคิด ทฤษฎีต่างๆ ที่มีข้อพิสูจน์

8.2. ลักษณะของงานเขียนงานวิชาการ

8.2.1. มุ่งให้ความรู้ทางวิชาการ

8.2.2. อธิบายหรือแสดงเนื้อหาในวิชาการแขนงต่างๆ

8.2.3. มีการอ้างอิงหลักการหรือทฤษฎี

8.2.4. มีการค้นคว้าอย่างเป็นระบบ

8.2.5. มีการลำดับเนื้อหาเป็นขั้นตอน

8.2.6. มีการใช้ภาษาระดับมาตรฐานราชการ

8.3. องค์ประกอบของงานเขียนแนววิชาการ

8.3.1. 1. เนื้อหา

8.3.1.1. ตรงกับความจริงเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้

8.3.1.2. ควรให้แนวคิดแปลกใหม่

8.3.2. 2. วิธีการเขียน

8.3.2.1. เขียนโดยใช้ภาษาให้ชัดเจนตรงไปตรงมา

8.3.2.2. ใช้ศัพท์ทางวิชาการ เท่าที่จำเป็น

8.3.2.3. เลือกใช้คำศัพท์บัญญัติที่ใช้กันทั่วไป

8.3.2.4. ควรใช้ประโยคความเดียว ไม่ควรใช้ ประโยคซับซ้อน

8.3.2.5. ควรเรียบเรียงประโยคให้สัมพันธ์ต่อเนื่องกัน

8.3.2.6. เขียนได้เป็นลำดับขั้นตอน คือ

8.3.2.6.1. 1. มีการวางแผนการเขียนโดยการกำหนดจุดประสงค์ไว้ชัดเจน

8.3.2.6.2. 2. แล้ววางโครงเรื่อง

8.3.2.6.3. 3. แล้วนำประเด็นที่ได้มาเขียนเป็นหัวข้อ

8.3.2.6.4. 4. ขั้นต่อมา เรียงลำดับหัวข้อ

8.3.2.6.5. 5. เมื่อได้หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย และ เรียงลำดับแล้ว ต่อไปก็เป็นการเขียน ขยายความตามหัวข้อที่วางไว้

8.3.3. 3. ทัศนะของผู้เขียน

8.3.3.1. งานเขียนแนววิชาการควรมีการรวบรวม องค์ความรู้ต่างๆตามหัวข้อที่กำหนดไว้

8.3.3.2. มุมมอง ทรรศนะหรือความคิดเห็นของผู้ เขียนควรมีความแปลกใหม่

8.3.3.3. ในการอ้างอิงผลงานผู้อื่น ควรอ้างอิงเท่า ที่จำเป็น

8.4. ประเภทของงานเขียนแนววิชาการ

8.4.1. 1. ตำรา

8.4.1.1. หนังสือประกอบการเรียนที่เรียบเรียง ขึ้นอย่างมีระบบ

8.4.1.2. งานเขียนงานวิชาการประเภทตำรา จึง หมายถึงเอกสารหรือหนังสือประกอบ การสอน และหนังสือคู่มือต่างๆ

8.4.1.3. ตำราแบ่งตามเนื้อหามี 3 ประเภท

8.4.1.3.1. 1. ตำราทางสังคมศาสตร์

8.4.1.3.2. 2. ตำราทางมนุษยศาสตร์

8.4.1.3.3. 3. ตำราทางวิทยาศาสตร์

8.4.2. 2. บทความทางวิชาการ

8.4.2.1. งานเขียนที่ให้ความรู้ความคิดทฤษฎีทาง วิชาการ เรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีสาระ ครบถ้วน

8.4.2.2. งานเขียนบทความวิชาการ มีทั้งการนำ เสนอบทความวิชาการทั่วไป บทความ วิชาการเฉพาะสาขาวิชา และบทความ รายงานการวิจัย

8.4.2.3. ส่วนประกอบของบทความวิชาการ มี 4 ส่วนคือ

8.4.2.3.1. 1. ส่วนนำ

8.4.2.3.2. 2. ส่วนสาระสังเขปหรือบทคัดย่อ

8.4.2.3.3. 3. ส่วนเนื้อหา

8.4.2.3.4. 4. ส่วนอ้างอิง

8.4.3. 3. รายงานการวิจัย

8.4.3.1. รายงานการศึกษาค้นคว้าในหัวข้อเรื่อง ใดเรื่องหนึ่ง ที่มีการรวบรวมข้อมูลและ จัดทำตามกระบวนการวิจัยมี วัตถุประสงค์การศึกษาและการค้นคว้าที่ ชัดเจนและมีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อค้นหาความรู้ใหม่หรือเพื่อรวบรวม ข้อมูลความรู้

8.4.3.2. รายงานการวิจัยแบ่งตามลักษณะของข้อมูลมี 2 ประเภท ได้แก่

8.4.3.2.1. 1. การวิจัยเชิงปริมาณ

8.4.3.2.2. 2. การวิจัยเชิงคุณภาพ