การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉินอุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉินอุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย by Mind Map: การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉินอุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย

1. 1. การจัดบริการในหน่วยฉุกเฉิน

1.1. การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน

1.1.1. คือการช่วยเหลือผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บทั้งด้านร่างกายและอารมณ์ในเบื้องต้นโดยพยาบาลหรือบุคคลากรทางการแพทย์ที่ผ่านการฝึกอบรมจนเกิดความชำนาญก่อนส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาลหรือก่อนการได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์

1.2. ความสาคัญของการให้พยาบาลฉุกเฉิน

1.2.1. 1.สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานได้

1.2.2. 2.สามารถป้องกนัดม่ใหผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีอาการมากหรือ หนักกว่าเดิม

1.2.3. 3.สามารถส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บได้อย่างปลอดภัย

1.2.4. 4.สามารถรักษาชีวิตของผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บได้

1.3. บทบาทของพยาบาลชมุชนเกี่ยวกับการพยาบาล ผู้ป่วยฉุกเฉิน

1.3.1. การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินใน 3 ด้าน

1.3.1.1. 1. ด้านการรักษาพยาบาล

1.3.1.1.1. ต้องจัดระบบวางแผนและเตรียมอุปกรณ์ต่างๆตลอดจนบุคลากรให้พร้อมสามารถให้บริการได้เร็วเหมาะสมทันเหตุการณ์ รวมทั้งความสะดวกของสถานที่สำหรับการดูแลชุนจะต้องสามารถให้คำแนะนำในเรื่องของความปลอดภัยทั้งในบ้าน โรงเรียนและสถานที่สาธารณะ

1.3.1.2. 2. ด้านการป้องกัน

1.3.1.2.1. ต้องประเมินและจำแนกประเภทผู้ป่วยและผู้บาดเจ็บเพื่อให้การช่วยเหลือเบื้องต้นได้การช่วยเหลือต้องทำได้ทั้งในสถานที่เกิดเหตุขณะการเคลื่อนย้ายและเมื่อผู้ป่วยมาถึงหน่วยฉุกเฉิน

1.3.1.3. 3. ด้านการดูแลต่อเนื่องหลังจากการผ่านภาวะวิกฤต

1.3.1.3.1. พยาบาลชุมชนจะต้องทาการเคลื่อนย้ายและส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัยหรือในกรณีที่มีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้านได้ พยาบาลชุมชนต้องให้คำแนะนำก่อนการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล และวางแผนการเยี่ยมบ้าน

2. 6. การนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม (Transfer to Definitive care)

2.1. หลักการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินอุบัติเหตุหมู่และการบรรเทาสาธารณภัย

2.1.1. 1. ระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ (pre-impact phase)

2.1.1.1. การเตรียมแผน เพื่อรับสถานการณ์ทั้งด้านบุคลากร สถานที่ ยา และเวชภัณฑ์ต่างๆ

2.1.2. 2. ระยะเกิดภัยพิบัติ (impact phase)

2.1.2.1. ช่วยเหลือเบื้องต้น ระยะนี้อาจใช้เวลามากน้อยเท่าไรขึ้นอยู่กับขนาดของภับพิบัติที่เกิดขึ้น

2.1.3. 3. ระยะหลังเกิดภัยพิบัติ (post-impact phase)

2.1.3.1. ช่วยเหลือด้านการบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูสภาพผู้ประสบภัย ที้งด้านร่างกาย จิตใจ ที่อยู่อาศัย รวมทั้งการจัดอาชีพเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนทางด้านเศรษฐกิจด้วย

3. 4.การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น

3.1. Chain of Survival IHCA OHCA

3.1.1. AHA แยกผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นเป็น 2 กลุ่ม โดย แบ่งตามสถานที่ที่เกิด Cardiac Arrest

3.1.1.1. 1. Out-of-Hospital Cardiac Arrest ผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นที่เกิดขึ้นนอกเขตการบริการของโรงพยาบาล

3.1.1.2. 2. In-Hospital Cardiac Arrest ผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นในระหว่างการรักษาในโรงพยาบาล

3.2. Capnography

3.2.1. ขณะกดหน้าอกผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจออกจะแสดงถึง Cardiac Output ที่ดีได้ด้วย

3.2.1.1. End-tidal CO2 (PETCO2)

3.2.1.1.1. ควรจะมากกว่าหรือเท่ากับ 10 mmHg บ่งบอกถึงประสิทธิภาพการกดหน้าอกที่ดี ทำให้มีการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดหากขณะที่กดหน้าอก ปั๊มหัวใจมีค่าPETCO2 มากกว่า 40 mmHgอาจจะแสดงได้ถึง ROSC (Return Of Spontaneous Circulation) ได้

3.3. - Basic life support : (BLS) - Adult Cardiac Arrest Algorithm Asystole/PEA Algorithm - Adult Rapid Post-Cardiac Arrest Care Algorithm

3.4. Mechanism of obstruction

3.4.1. 1.การอุดกั้น แบบสมบูรณ์(complete obstruction)

3.4.1.1. -เกิดจากการมีสิ่งแปลกปลอมไปอยู่บริเวณทางเข้ากล่องเสียง (laryngeal inlet) หรือหลอดลมคอ (trachea) ซึ่งจะทำขาดอากาศหายใจ เป็นภาวะเร่งด่วนที่ต้องได้รับการรักษา

3.4.1.2. -อาการที่สามารถพบได้ ได้แก่ผู้ป่วยอาจจะเอามือกุมทอที่บริเวณคอ พูดไม่มีเสียง(aphonia)หายใจลำบาก(dyspnea) หรืออาจจะเสียชีวิตเฉียบพลันได้ (sudden death)

3.4.2. 2.การอุดกั้นบางส่วน (partial obstruction)

3.4.2.1. -เกิดจากการที่มีสิ่งแปลกปลอมไปอุดกั้นทางเดินหายใจเพียงบางส่วน ยังมีที่ว่างสำหรับอากาศสามารถผ่านเข้าออกได้

3.4.2.2. -อาการสามารถหายใจได้ มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ ไอแรงๆได้ อาจได้ยินเสียงหายใจหวีด (wheeze) ระหว่างการไอ

3.4.2.3. -การทำ Back blows เป็นการทำให้เกิดการไอ (five back blow or back slap)

3.4.2.4. -การทำchest thrustsเป็นการกระตุ้นให้ สิงแปลกปลอมพุ่งออกมา (five chest thrusts)

3.4.2.5. -การทำอัดท้องท่านอน abdominal thrusts (Heimlich maneuver)

3.4.2.5.1. ทำการอัดท้อง 6-10 คร้ัง ในท่านอหงาย สำหรับผู้ใหญ่และเด็กอายุมากกว่า1 ปี ทำจนสิ่งแปลกปลอมหลุด หรือผู้ป่วย หายใจเองได้

3.4.2.5.2. สำหรับคนอ้วนลงพุง (ท้องโต) หรือหญิงตั้งครรภ์ ใช้วิธี “อัดอก” (chest thrusts) โดยกำหมัดวางไว้กลางอกบริเวณราวนม แล้วใช้มืออีกข้างจับมือที่กำหมัดไว้ แล้วอัดอกแรงๆ เพื่อกระแทกมือที่กำหมัดไว้ ให้กดกระดูกกลางอก เข้าไปในทรวงอกตรงๆ ทำซ้ำหลายๆ ครั้งจนสิ่งแปลปลอม หลุดหรือผู้ป่วยหมดสติ

3.4.2.6. การสำลักสิ่งแปลกปลอม

3.4.2.6.1. เป็นภาวะฉุกเฉินที่จำเป็นต้องได้รับการ ช่วยเหลือทันที ณ จุดเกิดเหตุ การช่วย เหลือเบื้องต้นกรณีอุดกั้นรุนแรง

3.4.2.6.2. 1. การรัดกระตุกหน้าท้อง abdominal thrusts (Heimlich maneuver) ใน ผู้ใหญ่และเด็กโต

3.4.2.6.3. 2. ตบหลัง (back blows)5 ครั้งและกด หน้าอก (chest thrusts)5 ครั้งใน เด็กเล็กอายุน้อยกว่า 1 ปี

3.4.2.6.4. 3. ทำการรัดกระตุกบริเวณหน้าอกของ ผู้ป่วยแทน (chest thrusts) ในคน ตั้งครรภ์ หรืออ้วนมาก

3.4.2.6.5. 4. การกดหน้าอกนวดหัวใจหรือ CPR ทันทีกรณีผู้ป่วยหมดสติ

4. 5. หลักการเตรียมรับผู้ป่วยอุบัติเหตุหมู่

4.1. การบรรเทาสาธารณภัย

4.1.1. 1. ก่อนเกิดภัย

4.1.1.1. การเตรียมความพร้อม (Preparedness)

4.1.2. 2. ระหว่างเกิดภัย

4.1.2.1. DISASTER

4.1.2.1.1. Crisis Management

4.1.3. 3. ภายหลังเกิดภัย

4.1.3.1. การฟื้นฟูบูรณะ (Rehabilitation and Reconstruction)

5. 2.การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

5.1. ระบาดวิทยาของผู้ป่วยเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ

5.1.1. แบ่งผู้ป่วยออกเป็น 3 กลุ่ม

5.1.1.1. 1. Immediate Deaths (การตายแบบฉับพลัน )

5.1.1.1.1. - ระยะเวลาในการเสียชีวติ เป็นนาทีถึงชั่วโมง - สาเหตุการเสียชีวติ อาจเกิดจากเลือกออกในเยื่อหุ้มสมอง เลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด มีลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด ตับ หรือม้ามแตก หรือมีการเสียเลือดอย่างมาก - ในช่วงน้ีเป็นช่วง Goldenhour ที่มีความสำคัญอย่างมากในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยถ้ามีระบบการแพทยฉ์ฉุกเฉินท่ีดี จะสามารถดูแลผู้ป่วยกลุ่มน้ีทาให้มีโอกาสรอดมากยิ่งข้ึน

5.1.1.2. 2. Early Deaths

5.1.1.3. 3. Late Deaths

5.1.1.3.1. - อาจเกิดข้ึนในเวลาเป็นวินาที ถึงนาที - สาเหตุการตายเกิดจากการขาดอาการหายใจ เส้นเลือดขนาดใหญ่ฉีกขาดทาให้เกิดการเสียเลือดอย่างมาก หรือหัวใจได้รับการระทบอย่างรุนแรง - การตายในช่วงน้ีเป็นการตายท่ีราเสามารถป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้

5.1.1.3.2. - ระยะเวลาในการเสียชีวติอาจเป็นวันถึงสัปดาห์หลังได้รับอุบัติเหตุ - สาเหตุการเสียชีวติ เกิดจากการติดเชื้อในกระแสเลือด หรืออวัยวะภายในร่างกายล้มเหลว - อัตราการตายของผู้ป่วยกลุ่มน้ีก็ขึ้นอยู่กับการดูแลรักษาผู้ป่วยในช่วงแรก

5.2. หมายถึงการค้นหา การคัดกรองซึ่งในทางการแพทย์เรียกว่า triageหรือการคัดกรองผู้ป่วยโดยจะมีการซุกประวัติอย่างรวดเร็ว เพื่อคัดแยกผู้ป่วยออกเป็นกลุ่มหรือประเภทตามลำดับความรุนแรง(ร้ายแรง)ของการเป็นป่วยนั้น

5.3. ประโยชน์ของการคัดกรองผู้ป่วย

5.3.1. 1.ช่วยลดความเครียดและเพิ่มความพึ่งพอใจของผู้ป่วยและญาติ ในการเข้าสู้ระบบการดูแลรักษาพยบาล

5.3.2. 2. ช่วยลดความล้าช้าในการตรวจ

5.3.3. 4. ลดค่าใช้จ่าย

5.3.4. 3. ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาทันและเหมาะสม

5.4. การแบ่งประเภทของการ Triage

5.4.1. แบ่งออกเป็น 3 ประเภท

5.4.1.1. 1. การคัดกรองที่จุดเกิดเหตุ (FieldTriage)

5.4.1.1.1. การคัดแยกผู้บาดเจ็บจำนวนมาก (Disaster Triage)

5.4.1.1.2. การคัดแยกผู้ป่วยที่มีจำนวนไม่มาก (Prehospital Triage)

5.4.1.1.3. แบ่งประเภทตามอาการบาดเจ็บ เป็น 4 ประเภท ดังนี้

5.4.1.2. 2. การคัดกรองผู้ป่วยทางโทรสัพท์ (Phone Triage)

5.4.1.3. 3. การคัดแยกที่โรงพยาบาลในห้องฉุกเฉิน (Emergency Department Triage)

6. 3.การดูแลผู้บาดเจ็บในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล

6.1. ขั้นตอนในการดูแลผู้ป่วยนอก

6.1.1. 1. การตรวจสอบพบว่ามีเหตุบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน (detection)

6.1.1.1. 1.1) ผู้พบเห็นเหตุการณ์ มีการแจ้งเหตุ

6.1.1.2. 1.2) ศูนย์สั่งการมีหน้าที่ในการจัดส่งชุดปฏิบัติการออกทำการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ

6.1.2. 2. การรายงานเหตุการณ์ (Reporting)

6.1.2.1. 2.1) เป็นการแจ้งเหตุไปยังศูนย์สั่งการโดยใช้เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉิน

6.1.2.1.1. หมายเลข 1663 เป็นเบอร์โทรศัพท์กลางของ“ศูนย์เอราวัณ” หรือ Bangkok Medical service (Bangkok EMS)

6.1.2.1.2. หมายเลข 1669 เป็นเบอร์โทรศัพท์กลางของ“ศูนย์นเรนทร”ซึ่งประจำอยู่ทุกจังหวัดยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งจะเรียกศูนย์สั่งการเหล่านี้ว่า “Dispatch center”

6.1.2.2. 2.2) หน้าที่สำคัญของ Dispatch center

6.1.2.2.1. 1. คัดแยกระดับความรุนแรงของเหตุที่แจ้ง (Priority dispatch)

6.1.2.2.2. 2. การให้คำแนะนำในการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นทาง โทรศัพท์ Pre-arrival instruction

6.1.3. 3. การดำเนินการตอบสนอง (Response)

6.1.3.1. เป็นการส่งทีมแพทย์ฉุกเฉินที่อยู่ใกล้และมีศักยภาพเหมาะสมที่สุดออกทำการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ซึ่งขึ้นอยู่กับความรุนแรงของเหตุที่รับแจ้ง

6.1.3.2. รูปแบบการตอบสนอง

6.1.3.2.1. 1. ทีมกู้ชีพพื้นฐาน (Basic life support)

6.1.3.2.2. 2. ทีมกู้ชีพขั้นสูง (Advance life support) ซึ่งขึ้นอยู่กับความ รุนแรงของเหตุที่รับแจ้ง

6.1.3.2.3. 3. อาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ (Emergency Medical Response: EMR)

6.1.4. 4. การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (on Scene Care)

6.1.4.1. 4.1) ประเมินเหตุการณ์ (Scene Size Up)

6.1.4.1.1. ประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้นโดยรอบ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเอง ผู้ร่วมงาน ผู้ป่วย และบุคคลอื่นๆ

6.1.4.1.2. ประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ จำนวนตำแหน่งของผู้บาดเจ็บทั้งหมด และกลไกการบาดเจ็บ เพื่อวางแผนขอความช่วยเหลือเพิ่ม

6.1.4.2. 4.2) การประเมินเบื้องต้น (Initial Assessment)

6.1.4.2.1. Airway and C-spine ทางเดินหายใจและกระดูกต้นคอ

6.1.4.2.2. Breathing การหายใจ

6.1.4.2.3. Circulation การไหลเวียน

6.1.4.2.4. Disability ระดับความรู้สึกตัว

6.1.4.2.5. Exposure and Disability บาดแผลตามร่างกาย และกระดูกแขนขา

6.1.4.3. ขั้นตอนในการดูแล

6.1.4.3.1. 1. In line stabilization (เมื่อมีข้อบ่งชี้) 2. ถอดหมวกกันน็อค (ถ้ามี) 3. ดูแลทางเดินหายใจ (Airway) 4. ดูแลระบบหายใจ (Breathing)

6.1.4.3.2. 5. ห้ามเลือดจากบาดแผลภายนอก 6. ใส่ Cervical collar (เมื่อมีข้อบ่งชี้) 5. ย้ายขึ้น Spinal board 7. นำขึ้นรถกู้ชีพ 8. ประเมิน primary/ secondary assessment อย่างละเอียดระหว่างรถกู้ชีพวิ่งมา รพ. ส่งข้อมูลผู้บาดเจ็บไปยังศูนย์อุบัติเหตุ

6.1.4.4. หลัก MIST

6.1.4.4.1. -ส่งข้อมูลผู้บาดเจ็บไปยังศูนย์อุบัติเหตุที่จะนำส่งโดยใช้หลัก MIST -ประกอบด้วย M Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น) I Injury (มีการบาดเจ็บบริเวณใดบ้าง) S Sign/ Symptom (มีอาการและการแดสงอย่างไร) T Treatment (มีการให้การรักษาเบื้องต้นที่จุดเกิดเหตุอย่างไร)