
1. การประเมินภาวะโภชนาการ
1.1. ภาวะโภชนาการ (Nutrition status) หมายถึง ภาวะสุขภาพที่เป็นผลจาก การบริโภคอาหาร และการใช้ประโยชน์ของสารอาหารในร่างกาย
1.2. ระดับภาวะโภชนาการ
1.2.1. ภาวะโภชนาการปกติ
1.2.2. ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
1.2.3. ภาวะโภชนาการสูงกว่าเกณฑ์
1.3. รูปแบบของการประเมินภาวะโภชนาการ
1.3.1. การตรวจอาการทางคลินิก
1.3.2. การตรวจสารทางชีวเคมีในร่างกาย
1.3.3. การสำรวจอาหารที่รับประทาน
1.3.4. การวัดสัดส่วนต่างๆของร่างกาย
2. สถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการ
2.1. ในอดีตปัญหาใหญ่ที่พบทั่วโลก คือ โรคขาดสารอาหารเพราะความสามารถในการผลิตอาหารในขณะนั้นมีจำกัด
2.2. ปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้เกิดภาวะโภชนาการเกิน
2.2.1. วิถีชีวิตที่เร่งรีบในปัจจุบันทำให้เกิดการทานอาหารนอกบ้านและเลือกซื้ออาหารสำเร็จรูป
2.2.2. ร้านอาหารส่วนมากจำหน่ายอาหารที่มีพลังงาน ไขมัน น้ำตาลและโซเดียม
2.3. สารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหาร
2.3.1. สารบอแรกซ์
2.3.1.1. ใช้ผสมอาหารเพื่อให้มีความเหนียวหรือกรุบกรอบอาหารที่มักพบบ่อยเช่น ลุกชิ้น หมูยอ อาหารชุบแป้งทอด
2.3.2. สารกันรา
2.3.2.1. ปัจจุบันตรวจพบกรดซาลิซิลิคในอาหารหลายชนิด เช่นแหนม หมูยอ ผักผลไม้ดอง
2.3.3. สารกันบูด
2.3.4. สารฟอกขาว
2.3.4.1. ถั่วงอกที่ขาวอวบ ผ้าขี้ริ้วที่ดูขาวกรอบน่ารับประทานมักจะถูกฟอกขาว ด้วยสารฟอกขาว
2.3.5. ฟอร์มาลิน
2.3.5.1. ฟอร์มาลินถุกนำมาใช้แช่ผัก เนื้อสัตว์และอาหารทะเลสดนั้นเอง
2.3.6. ยาฆ่าแมลง
3. อาหารเพื่อสุขภาพ
3.1. อาหารคือ อาหารที่มีสารประกอบในอาหารทำหน้าที่พิเศษกว่าการให้สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายทั่วไป เช่น
3.1.1. ส่งเสริมระบบการป้องกันตนเองของร่างกาย
3.1.2. ป้องกันหรือชะลอความเสื่อมของเซลล์
3.2. สารประกอบในอาหารที่ทำหน้าที่พิเศษเหล่านี้ เรียกว่า functional ingrdients ในปัจจุบันที่นิยมใช้ ได้แก่
3.2.1. 1.ใยอาหารพบได้ในผักและผลไม้ทั่วไป เม้ดแมงลัก หัวบุก รำข้าว และธัญพืช
3.2.2. 2.น้ำตาลโอลิโกแซคคาไรด์ พบได้ในอาหารประเภทข้าวสาลี ข้าวไรย์ หัวหอม กล้วย ถั่วเหลืองเป็นต้น
3.2.3. 3.ไดเปปไทด์ เป้นโปรตีนที่ถูกย่อยไปบางส่วน ช่วยลดความเหนื่อยล้าของสมอง
3.2.4. 4.กรดไขมันไม่อิ่มตัวในกลุ่มดอเมก้า 3 ช่วยในการพัฒนาสมองและการมองเห้นของทารก
4. ฉลากโภชนาการ
4.1. สินค้าที่ไม่ต้องติดฉลาก
4.1.1. (1) อาหารที่ผู้ผลิตสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารที่ผลิตแก่ผู้บริโภคได้ในขณะนั้น เช่น ร้านของอาหารตามตลาดสด ตลาดริมถนน
4.1.2. (2) อาหารสดที่ไม่ผ่านกรรมวิธีใด ๆ หรืออาหารสดที่ผ่านกรรมวิธีการแกะชําแหละตัดแต่งที่สามารถมองเห็นสภาพ ของอาหารสดนั้นได้เช่น หมู ปลา เป็ด ไก่ ผัก ตามตลาด
4.1.3. (3)อาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตและจําหน่ายเพื่อบริการภายในร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม โรงเรียน สถาบันการศึกษา
4.2. อาหารที่กำหนดให้แสดงGDA บริเวณด้านหน้าของฉลากมี 5 ชนิด
4.2.1. 1. มันฝรั่งทอดกรอบหรืออบกรอบ
4.2.2. 2. ข้าวโพดคั่นหรืออบกรอบ
4.2.3. 3. ข้าวเกรียบหรืออาหารขบเคี้ยวชนิดอบพอง (Extruded snack)
4.2.4. 4. ขนมป้งกรอบ แครกเกอร์หรือบิวกิต
4.2.5. 5. เวเฟอร์สอดไส้
5. โภชนาการ (Nutrition)
5.1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ
5.1.1. สุขภาพ (Health) : ภาวะความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจและการดํารงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี
5.2. อาหาร (Food) : สิ่งที่นําเข้าสู่ร่างกายโดยวิธีใดๆก็ตามแล้วเกิดประโยชน์แก่ร่างกาย ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนเนื้อเยื่อและส่วนที่สึกหรอ
5.2.1. อาหารที่ดี : อาหารที่เมื่อบริโภคเข้าไปแล้วต้องให้พลังงานและสารที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิตและต้องกินอาหารหลัก 5 หมู่
5.3. สารอาหาร (Nutrition) : สารที่เป็นส่วนประกอบอยู่ใน อาหาร ที่รับประทานเข้าไปในร่างกายแล้วร่างกายนําไปใช้ ประโยชน์เพื่อการดํารงชีวิตของร่างกาย สารอาหาร มี 6 ชนิด
5.3.1. คาร์โบไฮเดรต น้ํา
5.3.2. โปรตีน
5.3.3. ไขมัน
5.3.4. วิตามิน
5.3.5. เกลือแร่
5.3.6. น้ํา