แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) by Mind Map: แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model)

1. องค์ประกอบ

1.1. 1 การรับรู้โอกาสของการเป็นโรค (การรับรู้ความรู้สึกไว)

1.2. 2 การรับรู้ความรุนแรงของโรค (Perceived Severity)

1.3. 3 การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค (Perceived Benefits)

1.4. 4 การรับรู้ต่อขโมย (Perceived Barriers)

1.5. 5 สิ่งชักนำให้เกิดการปฏิบัติ (Cues to Action

1.6. 6 ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)

2. แนวทางการประยุกต์ในการปฏิบัติ

2.1. 1.ศึกษาปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพของคนในชุมชนและค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยง โดยพิจารณาจากปัญหาสุขภาพข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพที่มีอยู่แล้ว

2.2. 2. เมื่อได้รับสุขภาพที่ต้องการเปลี่ยนแล้วขั้นต่อไปก็คือการสารวจหรือ ตรวจสอบความเชื่อด้านสุขภาพที่มีอยู่เดิมของบุคคลก่อน

2.3. 3.หลังจากนั้น จึงจัดโครงการสร้างเสริมสุขภาพที่มีเนื้อหาและกระบวนการมุ่งส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยง

2.4. 4.วางแผนจัดสิ่งชักนาที่เหมาะสม ที่จะเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลมีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพได้ดีขึ้น

3. ความหมายความเชื่อด้านสุขภาพ

3.1. ความรู้สึกนึกคิด ความเข้าใจของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งสามารถเร้าให้บุคคลมีปฏิกิริยาโต้ตอบ ในรูปแบบของการกระทำเกี่ยวกับสิ่งนั้นๆ โดยที่ตนอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ตาม

3.2. ความเชื่อสิ่งนั้นๆไม่จำเป็นต้องอยู่บนพื้นฐานแห่งความเป็นจริงเสมอไป ซึ่งอาจมีเหตุผลหรือไม่มีเหตุผลก็ได้

4. ความเป็นมาของแนวคิดทฤษฎี

4.1. พัฒนาจากทฤษฎีด้านจิตวิทยาสังคม แนวคิดทฤษฎีพลังงานสนามของนักจิตวิทยา Kurt Lewin กล่าวว่า “มนุษย์อยู่ในห้วงจักรวาล” (Life Space) ประกอบด้วย 3บริเวณ

4.1.1. • บริเวณที่เป็นบวก

4.1.2. • บริเวณที่เป็นกลาง

4.1.3. • บริเวณที่เป็นลบ

4.2. จากทฤษฏีสนามพลังงานของเควินเลวิน (Kurt Lewin, 1951) ซึ่ง ฮอคบอม (Hochbaum, 1958) เป็นผู้พัฒนาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพครั้งแรก

4.2.1. ต่อมา โรเซนสต๊อก(Rosenstock,1974) เป็นบุคคลที่นำแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ มาเผยแพร่ จึงเป็นผู้ถูกอ้างอิงในฐานะเป็นผู้ริเริ่ม