ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การจัดการเรียนรู้

Education

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การจัดการเรียนรู้ by Mind Map: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การจัดการเรียนรู้

1. ทฤษฎีการเรียนรู้

1.1. ความหมายของทฤษฎีการเรียนรู้

1.1.1. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวรอันเป็นผลมาจาก การฝึกหัดและการได้รับประสบการณ์

1.2. กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้

1.2.1. กลุ่มที่ 1. Behaviorism ทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม

1.2.2. กลุ่มที่ 2. Humanism ทฤษฎีการเรียนรู้มนุษนิยม

1.2.3. กลุ่มที่ 3. Cognitivism ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธินิยม

1.2.4. กลุ่มที่ 4. Constructivism ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา

1.2.5. กลุ่มที่ 5. Constructionism ทฤษฎีการเรียนรู้สร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยตนเอง

1.2.6. กลุ่มที่ 6. Social Cognitive Learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงพุทธิปัญญา

1.2.7. กลุ่มที่ 7. Eclecticism ทฤษฎีการเรียนรู้แบบผสมผสาน

2. การเรียนการสอน

2.1. ความหมายของการเรียนการสอน

2.1.1. การสอน กระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เกิดความคิดที่จะนำความรู้ไปใช้ เกิดทักษะหรือความชำนาญที่จะแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

2.1.2. การเรียน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลจากการที่บุคคลทำกิจกรรมใดๆ ทำให้เกิดประสบการณ์และเกิดทักษะต่างๆ

2.2. องค์ประกอบของการเรียนการสอน

2.2.1. 1. ตัวป้อน ได้แก่ ครู หรือ ผู้สอน

2.2.2. 2. กระบวนการ ได้แก่ การดำเนินการสอน

2.2.3. 3. ผลผลิต ได้แก่ ผลการเรียนรู้ที่เกิดแก่ผู้เรียน

2.3. ความแตกต่างระหว่าง รูปแบบการเรียนการสอน วิธีสอน และเทคนิคการสอน

2.3.1. รูปแบบ ต้นแบบการจัดการเรียนการสอนที่ ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้ทฤษฎีต่างๆ

2.3.1.1. กลุ่มพัฒนาสติปัญญา

2.3.1.2. กลุ่มพัฒนาบุคคล

2.3.1.3. กลุ่มพัฒนาสังคม

2.3.1.4. กลุ่มพัฒนาพฤติกรรม

2.3.2. วิธีสอน ขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้

2.3.2.1. 1. ขั้นนำ

2.3.2.2. 2. ขั้นสอน

2.3.2.3. 3. ขั้นสรุป

2.3.3. เทคนิคการสอน กลวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เป็นขั้นตอนย่อยๆ ที่นำไปแทรกหรือเสริมในวิธีการ จัดการเรียนรู้ที่มีเป็นหลักอยู่แล้ว

2.3.3.1. 1. บรรยาย

2.3.3.2. 2. สาธิต

2.3.3.3. 3. ทดลอง

2.3.3.4. 4. แก้ปัญหา

2.3.3.5. 5. เกม

2.3.3.6. 6. ศูนย์การเรียนรู้

2.3.3.7. 7. กรณีตัวอย่าง

2.3.3.8. 8. บทบาทสมมุติ

2.3.3.9. 9. การแสดงละคร

2.3.3.10. 10. สถานการณ์จำลอง

2.3.3.11. 11. บทเรียนโปรแกรม

2.3.3.12. 12. ทัศนศึกษา

3. 21 st Century skills in education

3.1. Skill

3.1.1. 1. สาระวิชาหลัก (Core Subjects)

3.1.2. 2. ทักษะการเรียนรู้ด้านวัตกรรม

3.1.3. 3. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี

3.1.4. 4. ทักษะด้านชีวิตและการเปลี่ยนแปลง

3.2. Disruptions

3.2.1. 1. Disruptive Innovation

3.2.2. 2. Disruption Education

3.2.3. 3. Disruptive Learning

4. การเรียนรู้ (Learning)

4.1. ความหมายของการเรียนรู้

4.1.1. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกหัดและจาประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลได้รับ

4.2. องค์ประกอบของการเรียนรู้

4.2.1. 1. แรงขับ

4.2.2. 2. สิ่งเร้า

4.2.3. 3. การตอบสนอง

4.2.4. 4. การเสริมแรง